นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

31 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล การที่จะพัฒนาทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ตามกรอบที่กล่าวมานั้น ผู้เรียนควรมีประสบการณ์ในการเรียนรู้ ที่่้องเผชิญและแก้ปัญหาด้วยแนวคิดอย่างเป็นระบบ ซึ่่� งแนวทางหนึ่งที่เหมาะสมคือ การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education) เน้นการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และเป็นระบบ จึงเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้้�ท สามารถพัฒนาทักษะการโต้แย้ง ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนได้เป็นอย่างดี โดยแนวทางนี้สามารถส่งเสริมให้นักเรียนฝึกฝนการบูรณาความรู้และทักษะ กระบวนการทั้ง 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics) มาแก้ปัญหาที่่้าทายในบริบทในชีวิตจริง เพื่อสร้างนวัตกรรม (Nation Research Council [NRC], 2012) เกิดเป็นเทคโนโลยีที่เป็นผลผลิตจากกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ในขั้นตอนของการออกแบบเชิง วิศวกรรมยังสนับสนุนให้ต้องมีการออกแบบและสร้างนวัตกรรม ซึ่่� งการทำ �งานในขั้นตอนนี้้ักจะมีการนำ �เสนอตัวต้นแบบ นวัตกรรม ( P rototype) ที่หลากหลาย เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาให้มีประสิทธิภาพมากทีุ่่ด ทำ �ให้เกิดโอกาสของการโต้แย้ง เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับการแก้ปัญหานั้นอีกด้วย จะเห็นได้ว่าทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์มีความสำ �คัญในการสื่อสาร และนำ �เสนอตัวต้นแบบนวัตกรรมของตนเองให้ผู้้�อ นเข้าใจ รวมทั้งสามารถโน้มน้าวให้อีกฝ่ายที่่ีความคิดแตกต่างจากตนเอง สามารถยอมรับแนวคิดของตนเองได้ จากแนวคิดที่กล่าวมาข้างต้น คณะผู้เขียนจึงขอนำ �เสนอตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างบรรยากาศการเรียนรู้้้วยบริบทที่เป็นกระบวนการทำ �งานจริง ของวิศวกร เพื่อจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้กับนักเรียนผ่านประเด็นการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ด้วยการจัดการเรียนรู้ตาม แนวทางสะเต็มศึกษา ด้วยวัฏจัักรการเรียนรู้ 6 ขั้นตามกรอบแนวคิดของ Burke (2014) เรื่อง “ภารกิจพิทักษ์สิ่งแวดล้อม” โดยใช้เหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นจริงในประเทศไทยเกี่ยวกับนำ� �มันดิบรั่วไหลลงสู่ทะเล บริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 มาเป็นบริบทของปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเด็น การโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ภา 1 ทีมขจัดคราบนำ � �มัน ที่ชายหาดอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด ที่มา https://www.thairath.co.th/content/439975

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1