นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

32 นิตยสาร สสวท.ิ ต 1) ขั้� สร้างค ามส ใ (Engage) ครูสร้างบรรยากาศที่ท้าทายในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ โดยให้นักเรียนศึกษาวีดิทัศน์ เรื่อง “น้ำ �มันรั่วเข้าสู่เกาะเสม็ด 2556” ดังภาพ 2 ึ่งเป็นประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ต้องถกเถียงถึงแนวทาง การแก้ปัญหาน้ำ �มันดิบปริมาณมากที่รั่วไหลลงสู่ทะเล จนทำ �ให้น้ำ �ทะเลกลายเป็นสีดำ � ส่งผลต่อระบบนิเวศทั้งในทะเล และชายหาด จากนั้นกระตุ้นให้นักเรียนตั้งคำ �ถามที่จะนำ �ไปสู่การออกแบบและสร้างนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวผ่าน ประเด็นการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ที่ว่า “นวัตกรรมของกลุ่มใดที่มีประสิทธิภาพกำ �จัดคราบน้ำ �มันดิบได้ดีที่สุด เพราะอะไร” ทั้งนี้เกณ์ เปรียบเทียบคุณภาพของนวัตกรรมที่ครูแจ้งให้นักเรียนทราบคือ ปริมาตรของน้ำ �มันดิบที่แยกออกจากน้ำ �ทะเล ได้มากที่สุดในเวลาที่จำ �กัดเท่ากัน และมีความปลอดภัยต่อระบบนิเวศ การจั การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึึกษาด้้วยวัฏจักรการเรียนรู้ 6 ขั้้� น (6E learning) ตามกรอบแนวคิิ อง Burke (2014) ที� เน้นการโต้แย้งทางวิทยา าสตร์ 2) ขั้� นสำำ �ร ร สอบ (Explore) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนทำ �งานร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยสมาชิกภายในกลุ่มสวมบทบาทอาชีพตามสาขาสะเต็มศึกษา คือ นักวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยี วิศวกร และนักคณิตศาสตร์ เพื่อสืบเสาะหาความรู้้�ท เกี่ยวข้องกับสาขาที่ตนเองรับผิดชอบ แล้วนำ �มาบูรณาการแก้ปัญหานำ� �มันดิบที่่�ร วไหลลงสู่ทะเล เพื่อออกแบบและสร้างนวัตกรรม โดยครูทำ �หน้าที่เป็นผู้้ำ �นวย ความสะดวก แนะนำ �แหล่งข้อมูลสำ �หรับการสืบค้นที่่ีคุณภาพ เช่น โปรแกรม Tinkercad (โปรแกรมออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ) สำ �หรับออกแบบตัวต้นแบบนวัตกรรมแบบ 3 มิติ ดังภาพ 3 ภา 2 วีดิทัศน์ เรื่อง นำ� �มันรั่วเข้าสู่เกาะเสม็ด 2556 ที่มา กรีนพืช ไทยแลนด์, 2556. (https://www.youtube.com/watch?v=oanYz2k4u40 ) ภา 3 นักเรียนสืบเสาะหาความรู้และฝึกใช้โปรแกรม Tinkercad (ผ่าน https://www.tinkercad.com) Engage Explore Explain Engineer Enrich Evaluate Engage Explore Explain Engineer Enrich Evaluate

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1