นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

34 นิตยสาร สสวท.ิ ต 5) ขั้�ั บปรุุง (Enrich) นักเรียนแต่ละกลุ่มทดสอบประสิทธิภาพนวัตกรรมภายใต้บริบทที่ใกล้เคียงกับสถานการณ์จริง โดยใช้น้ำ �มันพืชผสม ลงในน้ำ � แล้วใช้นวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาแยกน้ำ �มันออกจากน้ำ �ให้มากที่สุดภายในเวลาจำ �กัดที่เท่ากัน และมีความปลอดภัยต่อ ระบบนิเวศ ประเมินผลการทดสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรมตามเกณ์ ที่สร้างขึ้นไว้ ดังภาพ 8 และนำ �ผลการทดสอบมา ปรับปรุงนวัตกรรมของตนเองให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น หลังจากสร้างนวัตกรรมเสร็จแล้ว แต่ละกลุ่มนำ �เสนอหน้าชั้นเรียนในรูปแบบกิจกรรมการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ในประเด็นการโต้แย้งที่ว่า “นวัตกรรมของกลุ่มใดมีประสิทธิภาพการกำ �จัดคราบน้ำ �มันดิบได้ดีที่สุด เพราะอะไร” ดังภาพ 7 โดยใช้รูปแบบคำ �ถามตามกรอบแนวคิดของ Lin และ Mintzes (2010) ที่สามารถพัฒนาทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน ดังนี้ • คำ �ถามที่ 1 วัดการระบุข้อกล่าวอ้างและเหตุผล (Claim and Warrant) นวัตกรรมแก้ปัญหานำ� �มันดิบรั่วไหลลงสู่ทะเลของนักเรียนคืออะไร เพราะอะไรจึงทำ �เช่นนั้น • คำ �ถามที่ 2 วัดการใช้หลักฐาน (Evidence) นักเรียนมีหลักฐาน/ข้อมูลอื่นๆ หรือประสบการณ์ของนักเรียนอะไรบ้างที่ใช้ในการสนับสนุน และยืนยันเหตุผลว่านวัตกรรมดังกล่าวมีประสิทธิภาพมากทีุ่่ด • คำ �ถามที่ 3 วัดการให้ข้อโต้แย้งที่่่างออกไป (Counterargument) หากมีเพื่อนนักเรียนสร้างนวัตกรรมแตกต่างจากนักเรียน นักเรียนคิดว่าเหตุผลของเพื่อนคืออะไร • คำ �ถามที่ 4 วัดการให้เหตุผลสนับสนุนการโต้แย้งกลับ (Supportive Argument) นักเรียนจะใช้เหตุผลอะไรในการโต้แย้ง เพื่อให้เพื่อนที่่ีความคิดแตกต่างจากนักเรียนในตอนแรก คล้อยตามและเห็นด้วยกับนักเรียน Engage Explore Explain Engineer Enrich Evaluate ภา 7 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ �เสนอนวัตกรรมผ่านกิจกรรมการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ภา 8 การทดสอบประสิทธิภาพนวัตกรรมที่แต่ละกลุ่มสร้างขึ้นมา

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1