นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563
35 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล 6) ขั้� ระเมิ ผล (Evaluate) ครูประเมินและสะท้อนผลการเรียนรู้ของนักเรียน เมื่อจบ แต่ละขั้นของวั จักรการเรียนรู้ โดยสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และ การโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ตรวจสอบการออกแบบและสร้างนวัตกรรม และสัมภาษณ์นักเรียนอย่างไม่เป็นทางการตลอดทั้งกระบวนการจัด การเรียนรู้ บ สรุ จากตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ด้วยวั จักรการเรียนรู้ 6 ขั้น ตามกรอบแนวคิดของ Burke ที่เน้นการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ึ่งเป็นเป้าหมายหลักของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน คณะผู้เขียน จึงขอเชิญชวนครูทุกท่านจัดบรรยากาศในการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ มากขึ้น ไม่ใช่เป็นการแสดงความคิดเพื่อเอาชนะอีกฝ่ายที่เห็นต่างจากตนเอง แต่เป็นการสร้างข้อสรุปร่วมกันอย่างกัลยาณมิตร ในปัญหาที่คลุมเครือและกำ �ลังถกเถียงกัน ให้มีความถูกต้องและเป็นที่ยอมรับ ึ่งจะทำ �ให้นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น อยู่บนพื้นฐานของเหตุผลและหลักฐานเชิงประจักษ์มากขึ้น ครูที่มีความสนใจเกี่ยวกับกิจกรรมสะเต็มศึกษาที่เน้นการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ สามารถนำ �ไปประยุกต์ใช้ กับการจัดการเรียนรู้ในเนื้อหาเรื่องอื่นๆ ระดับมัธยมศึกษาได้ เช่น สารและสมบัติของสาร ความหนาแน่นของสาร การแยก สารผสม บรรณานุกรม Burke, B. N. (2014). The ITEEA 6E Learning by DeSIGN™. Model: Maximizing Informed Design and Inquiry in the Integrative STEM Classroom. Technology and Engineering Teacher. 73 (6): 14-19. Lin, S. & Mintzes, J. J. (2010). Learning argumentation skills through instruction in Socioscientific issues: The effect of ability level. International Journal of Science and Mathematics Education. 8 (6): 993-1017. National Research Council. (2012). A Framework for K-12 Science Education: Practices, Crosscutting Concepts , and Core Ideas. Retrieved December 26, 2013, from http://www.nap.edu/catalog.php?record_id=13165. กรีนพืช ไทยแลนด์. (2556). นำ� �มันรั่วเข้าสู่เกาะเสม็ด 2556. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2561, จาก https://www.youtube.com/watch?v=oanYz- 2k4u40. สหรัฐ ยกย่อง และศศิเทพ ปิติพรเทพิน (2562). การพัฒนาทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัด การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ด้วยวัฏจัักรการเรียนรู้ 6 ขั้น เรื่องภารกิจพิทักษ์สิ่งแวดล้อม. วา สา หน่วยวิจัยวิทยาศาส์ เท โนโลยี และสิ� งแวดล้อมเพื� อกา เรีียนรู้� . 10 (2): 183-200. ศศิเทพ ปิติพรเทพิน (2559). วิทยาศาส์ เท โนโลยี และสัง ม ส่� การจััดกา เรีียนรู้� วิทยาศาส์ อย่างสร้้างส์ . กรุงเทพมหานคร: บริษัท วิสต้า อินเตอร์ปริ้นท์ จำ �กัด. เอกภูมิ จันทรขันตี. (2559). การจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการโต้แย้งในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์. วา สา มหาวิทยาลัย าชภััฎยะลา. 11 (1): 217-230. Engage Explore Explain Engineer Enrich Evaluate
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1