นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

37 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล ภา 2 (ก) การเตรียมกระดาษเหลือใช้เพื่อทำ �เศียร (ข) การออกแบบโดยใช้ดินนำ� �มัน วิิ ยา าสตร์์กับการทำำ �เศีียรจิ๋๋ � เ โ โลยีกับการทำำ �เศีียรจิ๋๋ � (ก) (ข) ก่อนที่จะเริ่มให้นักเรียนลงมือทำ �เศียรจิ� ว ให้นักเรียนศึกษาและ การรวบรวมข้อมูลในเรื่องต่างๆ เช่น ชนิดของกระดาษและการจัดเตรียม กระดาษ ซึ่่� งตามหลักการแล้วเมื่อกระดาษได้รับความชื้นจะสามารถปรับ ขึ้นรูปได้ง่าย อีกทั้งการแช่กระดาษในนำ � �ที่ผสมกับกาว เมื่อนำ �มาขึ้นรูป จะทำ �ให้กระดาษยึดเกาะกันมากขึ้น เป็นการเพิ่มความแข็งแรงให้กับ ชิ้นงาน การผสมกาวกับนำ� �จะทำ �ให้กระดาษดูดึ มนำ� �ที่ผสมกับกาวเข้าไปใน กระดาษ ส่งผลให้กระดาษมีความแข็งแรงจากภายในเยื่อของกระดาษเอง กระดาษมีความเหนียวเพิ่มขึ้น ชิ้นงานที่ออกมาก็จะดี ผลงานมีความแข็งแรง และยืดอายุของชิ้นงาน สามารถเก็บไว้ได้นานขึ้น ดังภาพ 2 นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีศึกษาหาข้อมูลในการทำ �กิจกรรม และออกแบบเศียรจิ� วได้ ส่งผลให้นักเรียนทำ �ผลงานได้ง่าย ได้ผลงาน ออกมารวดเร็วและดี นอกจากนี้้ักเรียนยังได้เรียนรู้เทคโนโลยีในการทำ �ให้ เศียรจิ� วแห้งโดยวิธีอื่นๆ ซึ่่� งไม่ต้องอาศัยความร้อนจากดวงอาทิตย์เท่านั้น เช่น การใช้ความร้อนจากคอยล์ร้อนของเครื่องปรับอากาศ การใช้เครื่อง ลดความชื้น ส่งผลให้เศียรแห้งได้เร็วขึ้น ลดการเกิดเชื้อรา การป้องกันเชื้อรา โดยการควบคุมความชื้นและอุณหภูมิของอากาศ สามารถควบคุมการเพิ่ม วิิ กรรม าสตร์์กับการทำำ �เศีียรจิ๋๋ � วิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการทำ �เศียรจิ� ว มีทั้งใช้เพื่อการแก้ปัญหาต่างๆ ที่พบ และการพัฒนาขั้นตอนการ ทำ �งานตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ซึ่่� งประกอบด้วย 6 ขั้นตอนดังนี้ 1) การระบุปัญหา (Problem identification) จุดเริ่มต้นของปัญหาคือ โรงเรียนมีกระดาษที่ใช้แล้วทั้งสองหน้า จำ �นวนมาก ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด เพื่อวางแผนแก้ปัญหาขยะประเภทกระดาษเหลือใช้ในโรงเรียน โดยมี นักเรียนกลุ่มหนึ่งเสนอแนวคิดว่าจะนำ �ไปทำ �เศียร ซึ่่� งครูมองว่ายากไป นักเรียนให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่ามีปราชญ์ชาวบ้านที่อยู่ ในชุมชนสามารถสอนได้ จึงเป็นที่มาของการทำ �เศียรจิ� ว 2) การสืบค้นและรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่่เกี่ยวข้องกับปัญหา (Related Information Search) จากปัญหา ที่่ีกระดาษจำ �นวนมากกับแนวคิดการทำ �เศียร ซึ่่� งวัสดุดั้งเดิมที่ปราชญ์ในชุมชนนำ �มาใช้คือ ขี้เลื่อย แต่นักเรียนจะนำ �กระดาษ ปริมาณการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ เชื้อราจะเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณที่่ีความชื้นสูง และบริเวณที่่ีอุณหภูมิประมาณ 25-30 องศาเ ลเี ยส ส่วนเชื้อราที่่่อให้เกิดโรคส่วนใหญ่มักจะเจริญเติบโตได้ดีในช่วงอุณหภูมิห้องจนถึง 37 องศาเ ลเี ยส และราบางชนิดจะเจริญเติบโตได้ดีในช่วงอุณหภูมิ 40-50 องศาเ ลเี ยส ทั้งนี้การใช้เครื่องลดความชื้น หรือเครื่องปรับอากาศ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่่่าสนใจ และสามารถลดระยะเวลาในการทำ �ให้เศียรแห้งได้อีกด้วย วิธีการที่่ิดขึ้นนี้อาจนำ �ไปประยุกต์ ใช้หากนักเรียนนำ �การทำ �เศียรไปทำ �เป็นอาชีพ จึงสามารถช่วยเรื่องการผลิตหากเกิดความต้องการผลผลิตเป็นจำ �นวนมาก และสามารถนำ �ไปใช้ในการทำ �เศียรช่วงฤดูหนาวหรือฤดูฝน หรือแม้กระทั่งในประเทศเมืองหนาวได้อีกด้วย

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1