นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563
39 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล คณิิ าสตร์์กับการทำำ �เศีียรจิ๋๋ � คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการทำ �เศียรจิ� ว เช่น การคำ �นวณสัดส่วนของกระดาษ ปริมาณนำ � � ปริมาณกาว ที่่ำ �มา ผสมกัน นอกจากสัดส่วนในการเตรียมวัสดุที่่ำ �มาใช้ทำ �เศียรแล้ว ยังมีในเรื่องขนาดของเศียร การออกแบบรูปร่าง รูปทรง ปริมาตร ปริภูมิของเศียร อัตราส่วนของวัสดุที่ใช้ในการจัดทำ �เศียรในแต่ละขนาด รวมทั้งการคำ �นวณรายรับรายจ่าย ต้นทุน ในการทำ �เศียรจิ� ว กำ �ไรและขาดทุน นอกจากนี้้ังใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม การใช้เหตุผลและตรรกะทางคณิตศาสตร์จะทำ �ให้งานออกมาสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ภา 5 (ก) สร้างผลงานให้กับโรงเรียนและชุมชน (ข) สร้างความภูมิใจในการอนุรักษ์การทำ �เศียรจิ� ว บรรณานุกรม ศิริพร ดาบเพชร คมคาย มากบัว และประจักษ์ แป๊ะสกุล. (2556). ะวัติิศาส์ ไทย ม.4-ม.6. กรุงเทพมหานคร: สำ �นักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์. ศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ. (2559). คู่่� มือหลักสู อ ม สะเต็็มศึก า . กรุงเทพมหานคร: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). จากกิจกรรมการทำ �เศียรจิ๋ว จะเห็นได้ว่าในชีวิตจริงศาสตร์ทั้ง 5 ศาสตร์ที่กล่าวมาแล้วนั้น ไม่ได้แยกออกจากกัน แต่มีความเกี่ยวข้องอย่างเป็นเนื้อเดียวกัน และขยายความรู้บูรณาการไปศาสตร์แขนงอื่นๆ เช่น การพัฒนาความสามารถ ด้านการเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นในรายวิชาสังคมศึกษา ในส่วนของภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สามารถ นำ �ไปใช้ในการสื่อสารหรือนำ �เสนอข้อมูลต่างๆ ให้กับผู้สนใจ และการเรียนรู้คำ �ศัพท์ทางภาษาเป็นการพัฒนาทักษะทาง ภาษาให้กับนักเรียน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้รูปแบบสะตีมศึกษา สามารถพัฒนานักเรียนได้อย่างหลากหลาย สร้างผลงานให้กับโรงเรียน ชุมชน สร้างความภูมิใจในการอนุรักษ์การทำ �เศียรจิ๋ว ดังภาพ 5 อีกทั้งเป็นการบูรณาการในด้าน ทักษะอาชีพและเป็นทางเลือกให้กับนักเรียนที่จะเลือกศึกษาต่อหรือใช้ประกอบอาชีพ รวมทั้งเป็นการร่วมอนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่นอันดีงามให้คงอยู่ชั่วลูกชั่วหลานสืบไป (ก) (ข)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1