นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

51 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล ที่มา https://www.youtube.com/watch?app=desktop&v=cso2u-3gel0 การสัมมนางานวิิจััยวิิทยาศาสตร์สิ� งแ้ อม ระดัับนักเรียนแบบเสมือนจริิง กับงาน GLOBE Virtual Student Science Symposia GLOBE Virtual Student Science Symposia (IVSS) นานาสาระ และข่่าวสาร ยุพาพร ลาภหลาย • ผู้้ำ �นาญ ฝ่ายโลกศึกษาเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อม สสวท. • e-mail: ytipj@ipst.ac.th การแพร่่ระบา ของโรค COVID-19 นำ �ไปสู่การเปลี่ยนแปลงหลายๆ ด้้าน ทำ �ให้เกิดวิิถีชีวิตใหม่ ไม่ว่าจะเป็น การใช้ชีวิตประจำ �วันหรือแม้กระทั่งการเรียนรู้ ในปัจจุบันก็มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนไป การเรียนรู้้่านสื่อออนไลน์ต่างๆ มีแนวโน้มเพิ่่มมากขึ� น การอบรมหรือการเรียนการสอนผ่านโปรแกรม ออนไลน์ต่างๆ เพื่่อให้ผู้เรียนได้้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภา เสมือนอยู่ในห้องเรียนจริง เช่น การอบรมผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Microsoft Team การเรียนรู้ในห้องเรียนออนไลน์ด้้วย Google Classroom สำ �หรับการนำ �เสนอผลงานวิจัยระดับนักเรียนก็มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบเช่นเดียวกัน โดยขอแนะนำ �การเรียนรู้ ของนักเรียนในโครงการ GLOBE ผ่านการสัมมนาออนไลน์ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำ �งานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ในเวทีระดับโลก ผ่านการสัมมนาเสมือนจริง GLOBE Virtual Student Science Symposia (IVSS) GLOBE Virtual Student Science Symposia (IVSS) เป็นการสัมมนาเสมือนจริงจัดขึ้นโดยโครงการ GLOBE หรือ GLOBE Implementation Office (GIO) (www.globe.gov) ประเทศสหรัฐอเมริกา มีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนในโครงการ GLOBE ทั่วโลก ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ผ่านการลงมือทำ �งานวิจัยด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อช่วย แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นไปจนถึงระดับภูมิภาค และระดับโลก ตลอดจนเข้าใจสิ่งแวดล้อมที่อยู่บนโลกของเรา อีกทั้ง มุ่งหวังจุดประกายความสนใจในการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น การสัมมนา GLOBE IVSS เริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 และในปี พ.ศ. 2564 เป็นการจัดครั้งที่ 8 ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงในการออกนอกบ้าน และลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของ โรค COVID-19 โครงการ GLOBE จึงให้นักเรียนที่่่งงานวิจัยเข้าร่วมการสัมมนา นำ �เสนอผลงานในรูปแบบที่สร้างสรรค์ เช่น นำ �เสนอในรูปแบบวีดิทัศน์หรือผ่านโปรแกรมออนไลน์ โดยโครงการ GLOBE จะเน้นที่การวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่่� งจะใช้ข้อมูล ในอดีตหรือในปัจจุบันมาวิเคราะห์ก็ได้ สำ �หรับประเทศไทยมีโรงเรียนในโครงการ GLOBE ส่งผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 และมีผลงานวิจัยที่่่งเข้าร่วมมากทีุ่่ดในภูมิภาคเอเี ยแปิ ฟิก ผลงานวิจัยของนักเรียนไทยได้รับ รางวัลในการสัมมนาฯ ทุกปี เช่น ตัวอย่างงานวิจัยจากโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ที่่่งเข้าร่วมการสัมมนา GLOBE IVSS 2019 เรื่อง “Faith-based Communities Affecting Breeding Sites of Mosquito Larvae at Samui Island, Thailand using Drone imagery and GLOBE Observer: Habitat Mapping App” ภา 1 สรุปรายชื่อประเทศที่่่งผลงานเข้าร่วมการสัมมนา GLOBE IVSS ตั้งแต่ปี พ.ศ.2559 - 2562

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1