นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563

7 ปีที่ 48 ฉบับที่ 226 กันยายน - ตุลาคม 2563ี ที่ ั บี่ ั นุ ล รอบร้� วิทย์์ วีระพงษ์ พิมพ์สาร • ครูชำ �นาญการ โรงเรียนมัธยมสุวิทย์เสรีอนุสรณ์ • e-mail: Weeraphongp61@email.nu.ac.th การจัั การเรี นร้� โ ใช้้ปรากฎการณ์์เป็นฐาน โลกกำ �ลังเผชิญกับวิกฤติการแพร่่ระบา ของโรคโควิ -19 ที่คร่าชีวิตมวลมนุษยชาติ ทั� งในประเทศไทย และต่างประเทศ และทุกประเทศต้องระ มทีมแ ทย์และบุคลากรทุกภาคส่วนเพื่่อรับมือกับวิกฤติครั� งนี� รวมถึงมี มาตราการหลายเรื่อง เช่น การปิ ประเทศ การประกาศสภาวะฉุกเฉิน การเว้นระยะห่างทางสังคม ส่งผลให้เกิ การ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคมอย่างรุนแรง รวมทั� งด้้านการศึกษา การจัดการศึกษาให้กับผู้เรียน จึงต้องปรับเป็นการเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือการเรียนรู้จากที่่้าน เพื่อเว้นระยะห่าง ทางสังคม ซึ่่� งสอดคล้องกับการจัดการศึกษาของประเทศไทยภายใต้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 12 กล่าวไว้ว่า “นอกเหนือจาก รัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กร วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่ กำ �หนดในกฎกระทรวง” ดังนั้น วิธีหนึ่งในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย จึงเป็นการจัดการศึกษาโดยครอบครัว (Home School) ภา 1 การจัดการศึกษาแบบ Home School ที่มา https://www.rakluke.com/school-zone/11/56/1350/โฮมสคูล-การศึกษา ทางเลือกของครอบครัว วิทยาศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งที่่�ผ สอนบางคนคิดว่า จัดการเรียนการสอนโดยครอบครัวได้ค่อนข้างยาก ขณะที่่ีกหลาย คนอาจติดกับภาพอุปกรณ์การทดลอง มีสูตรทฤษฎีต่างๆ มากมาย ทำ �ให้มีกรอบความคิดว่า จะจัดการเรียนรู้ได้อย่างไรถ้า ไม่มีอุปกรณ์เหล่านั้น บทความนี้ขอนำ �เสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยครอบครัว โดยใช้ปราก การณ์เป็นฐาน (Phenomenon based Learning) ซึ่่� งไม่จำ �เป็นต้องใช้อุปกรณ์ในห้องทดลอง และจัดการเรียนรู้เป็นแบบบูรณาการ โดยเริ่มจากการสร้างหัวเรื่อง (Theme) หรือกำ �หนดหัวข้อปราก การณ์เรียนรู้ แล้วนำ �หัวข้อเนื้อหาจากวิชาต่างๆ มาสัมพันธ์ กับหัวเรื่องนั้น ตัวอย่างหัวเรื่อง เช่น การทำ �ไอศกรีม การทำ �บัวลอยไข่หวาน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1