นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563
คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป ช่วงที่่่านมา ประเทศไทยได้พบการระบาดของโรค COVID-19 ระลอกใหม่ ซึ่่� งส่งผลกระทบ การเรียนตามรูปแบบปกติ หลายโรงเรียนได้ปรับตัวสู่การเรียนการสอนออนไลน์ หวังว่าเราจะใช้ชีวิตแบบ New Normal ตระหนัก แต่ไม่ตื่นตระหนก ได้อย่างมีความสุขกัน การพัฒนาวัคี นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ที่่ำ �เพาะต่อเชื้อไวรัสจึงเป็นความหวังของมวลมนุษยชาติ สำ �หรับช่วงเวลาที่เราทุกคนรอคอย วัคี นแห่งความหวัง เราทุกคนควรดูแลสุขภาพของตนเอง หลีกเลี่ยงอยู่ในพื้นที่่�ท ีีผู้คนหนาแน่น สวมหน้ากากอนามัย รวมทั้งหมั่นล้างมือบ่อยๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโรคระบบทางเดินหายใจ รวมทั้งโรค COVID-19 ผลการประเมิน PISA ได้สะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพของนักเรียนไทย จากปัญหาที่เกิดขึ้น ในการศึกษาไทย และกระแสการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ทำ �ให้เกิด “หลักสูตรฐานสมรรถนะ” ในแผนปฏิิรูปประเทศด้านการศึกษา สสวท. ตระหนักถึงปัญหา จึงได้ดำ �เนินโครงการต่างๆ เพื่อส่งเสริม ให้เกิดการจัดการเรียนรู้้�ท ีัฒนาความฉลาดรู้ ด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ในโรงเรียน เพื่อให้ นักเรียนมีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้และแนวคิด เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ หาคำ �ตอบ แสดง เหตุผล หรือหาข้อสรุปได้อย่างมีวิจารณญาณ รวมถึงมีการสื่อสารอย่างเหมาะสม เพื่อเตรียมกำ �ลังคน สู่ศตวรรษที่ 21 การนำ �พืชมาใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน บางครั้งไม่สามารถเตรียมพืชตามตัวอย่าง ที่แนะนำ �ในหนังสือมาใช้ได้ เราขอเสนอแนะวิธีการนำ �พืชชนิดต่างๆ ที่เหมาะสมในการทำ �กิจกรรม ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่่� งครอบคลุมเนื้อหาทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยพืชที่แนะนำ �นี้ หลายชนิดพบได้ทั่วไปทั้งในโรงเรียนและในชุมชน ไม่จำ �เป็นต้องซื้้� อหา ซึ่่� งคุณอาจคิดไม่ถึงเลยว่า พืชที่เคยเห็นอยู่ในชีวิตประจำ �วันจะมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์อย่างมาก เราขอนำ �เสนอสิ่งดีๆ เป็นเพื่อนทุกท่าน ติดตามเราผ่าน emagazine.ipst.ac.th เพื่ออ่าน นิตยสาร สสวท. ฉบับออนไลน์ก่อนใคร สอบถาม/เสนอแนะ ผ่าน facebook.com/ipstmag ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิดเล่ม สสวท. ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1