นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563

13 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น รอบร้� วิทย์์ กนกนันทน์ ไสไทย • นักวิชาการ สาขาวิจัยการศึกษาและพัฒนาการวัดและประเมินผล สสวท. • e-mail: ksait@ipst.ac.th COVID-19 ภััยร้้ายที่่� โลกต้้องเผชิิญั้่ �้ิ C OV I D - 1 9 ในอดีีตเมื่อปี ค.ศ. 2003 โลกต้องเผชิญกับการระบา ของโรค SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome) ทำ �ให้มีผู้เสียชีวิตทั่วโลกมากกว่า 700 คน ต่อมาปลายปี ค.ศ. 2019 โรคระบา จากไวรัสกลับมาอีกครั� งในชื่อ COVID-19 (Coronavirus Disease 2019) การระบาดของโรคได้กระจายอย่างต่อเนื่องและทวีความรุนแรงมากขึ้น จนกระทั่งเดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 2020 องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้โรค COVID-19 เป็นโรคระบาดใหญ่ เนื่องจากมีการแพร่กระจายของโรคไปทั่วโลกและ ยากต่อการควบคุม ซึ่่� งในปัจจุบันมีผู้้ิดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 75 ล้านคน โดยไวรัสที่่ำ �ให้เกิดโรคระบาดนี้เป็นไวรัส สายพันธุ์ใหม่ที่่� ช อว่า SARS-CoV-2 เนื่องจากไวรัสนี้้ีลำ �ดับทางพันธุกรรมคล้ายคลึงกับไวรัสโรค าร์ส (SARS-CoV) ไวรัสชนิดนี้ มีลักษณะอย่างไร และจะส่งผลอย่างไรต่อร่างกายของเรา ลองมาศึกษากันค่ะ ลักษณะของไวรัส SARS-CoV-2 การศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนพบว่า ไวรัสเป็นทรงกลม มีจีโนมเป็น RNA สายเดี่ยวทีู่่กห่อหุ้มด้วย เปลือกโปรตีน (แคปิ ด) และมีเยื่อหุ้มแบบฟอสโฟลิพิปิดสองชั้น หุ้มอีกครั้งหนึ่ง ที่เยื่อหุ้มนี้จะมีส่วนโปรตีนสไปค์ (S-protein, Spike) ยื่นเป็นหนามแหลมล้อมรอบมีลักษณะคล้ายมงกุฎ จึงเป็นที่มา ของชื่อเรียกทั่วไปว่า “ไวรัสโคโรนา” ซึ่่� งตัวหนามนี้เป็นกลไกสำ �คัญ ที่ไวรัสตัวร้ายใช้ในการเข้าถึงเ ลล์ของเจ้าบ้าน (Azkur et al., 2020) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทำ �คลิปวีดิทัศน์ เพื่อให้ความรู้และเข้าใจถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น ในร่างกายของเรา ซึ่่� งสามารถเข้าชมคลิปวีดิทัศน์ ได้ที่่�น ข้อมูลเพิ่มเติม bit.ly/227-v3 มาจากคำ �ว่า Corona กร แคปิ เยื่อหุ้ม Virus Disease 2019

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1