นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563
14 นิตยสาร สสวท.ิ ต ร้� หรือไม่ ? กลไกการออกฤ ธิ์์� ของเชื้้� อไวรัส SARS-CoV-2 มีอยู่ 3 Type ได้แก่ Type A B และ C ซึ่่� งแตกต่างกันที่่ำ �ดับกรดอะมิโน โดย Type A และ C ส่วนใหญ่จะพบในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ส่วน Type B จะพบในแถบเอเชียตะวันออก ผู้้่านทุกท่านคงจะทราบแล้วว่า หากเราได้รับละอองฝอยจากสารคัดหลั่ง (นำ � �ลาย เสมหะ นำ� �มูก) ของผู้้่วย จากการไอหรือจาม และสัมผัสเชื้อโรคที่แพร่กระจายปนเปื� อนตามพื้นผิวต่างๆ แล้วมาสัมผัสจมูก ปาก หรือ ตา (อวัยวะ ที่่ีเยื่อเมือกบุ) จะเป็นการเปิดโอกาสให้ไวรัสเข้าสู่เ ลล์ภายในร่างกายเราได้ ซึ่่� งกลไกเป็นดังนี้ สไปค์โปรตีนบนผิว ของไวรัสจะใช้บริเวณที่่ำ �หน้าที่จดจำ � (Receptor-binding domain site, RBD) จับกับตัวรับจำ �เพาะบนเยื่อหุ้มเ ลล์ (Angiotensin-Converting Enzyme 2, ACE2) และมีเอมไ์ Serine Protease ทำ �ให้เกิดการหลอมรวมเยื่อหุ้มเ ลล์ ไวรัส จึงสามารถเข้าไปในเ ลล์ได้ (Hoffmann et al., 2020) ไวรัสจะทำ �การเพิ่มจำ �นวน RNA และสังเคราะห์โปรตีนที่เป็นโครงสร้าง ของไวรัสในไ โทพลาสึ มของเ ลล์ จากนั้นจะประกอบเป็นอนุภาคไวรัสใหม่ที่เยื่อหุ้มระหว่างเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม และกอลจิบอดี (Endoplasmic Reticulum Golgi Intermediate Compartment, ERGIC) และขนส่งออกนอกเ ลล์ โดยบรรจุอยู่ในถุงเวสิเคิล ทำ �ให้ไวรัสแพร่กระจายไปยังเ ลล์อื่นๆ ทั่วร่างกายอย่างรวดเร็ว ที่มา https:// www.ptglab.com
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1