นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563
15 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น การแสดงออกของอาการ อันตรายของไวรัส SARS-CoV-2 อาการทั่วไปของผู้้่วย โรค COVID-19 คือ มีไข้ ไอ อ่อนเพลีย และอาจท้องเสียร่วมด้วย แต่อาการ และระดับความรุนแรงของโรคในผู้้่วยจะแตกต่างกัน ออกไป ซึ่่� งทางไวรัสวิทยาเชื่อว่าขึ้นอยู่่ับปริมาณของ ไวรัสที่เข้าสู่่่างกาย (Gralinski et al., 2013) โดยทั่วโลก พบว่า ผู้้่วยส่วนใหญ่จะมีอาการเล็กน้อยจนถึงปานกลาง แต่สำ �หรับผู้้่วยที่่ีอาการรุนแรงมักจะเป็นผู้้่วยที่่ี โรคประจำ �ตัวอยู่่่อน เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคปอดเรื้อรัง รวมถึงผูู้้งอายุ (Dong et al., 2020) และมีผู้้่วยบางรายที่ไม่แสดงอาการของโรค แต่สามารถเป็นพาหะแพร่เชื้อได้ ปกติแล้วระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายสามารถกำ �จัดสิ่งแปลกปลอมออกจากร่างกายเราได้เอง โดยจะไป กระตุ้นเ ลล์บี ให้พลาสมาเ ลล์มีการหลั่งอิมมูโนโกลบูลินเพื่อกำ �จัดเชื้อโรคเหล่านั้น รวมถึงไปกระตุ้นเ ลล์เม็ดเลือดขาว ชนิด CD4 และ CD8 ซึ่่� งเป็นเ ลล์เม็ดเลือดขาวที่่ีหน้าที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโดยตรง แต่สำ �หรับอันตรายของไวรัส SARS-CoV-2 นี้้ือ เมื่อไวรัสเข้าไปยังปอด ไวรัสจะเข้าไปยังถุงลมซึ่่� งมีหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สโดยตรง ในถุงลมจะมี เ ลล์อยู่สองชนิด คือ เ ลล์ Type I ที่่ีผนังบางทำ �หน้าที่ให้ออกิ เจนผ่านเข้าออกเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส และเ ลล์ Type II มีหน้าที่หลั่งเมือกออกมาป้องกันการยุบเสียหายของถุงลม ซึ่่� งสไปค์โปรตีนบนผิวของไวรัสจะเข้าไปจับกับตัวรับ ACE2 เพื่อเพิ่มจำ �นวนในเ ลล์ทั้งสองนี้ เมื่อไวรัสเพิ่มจำ �นวนมากขึ้นทำ �ให้เ ลล์เสียหาย เมื่อขาดเ ลล์ Type I ส่งผลให้ระดับ ปริมาณออกิ เจนในเลือดลดลง และขาดเมือกจากเ ลล์ Type II ทำ �ให้ถุงลมเกิดการยุบตัวเสียหาย ของเหลวจึงไหล เข้ามาสะสม ทำ �ให้เกิดอาการปอดบวม หายใจติดขัด หอบเหนื่อย (Gralinski et al., 2013) นอกจากนี้ เ ลล์ที่ตายหรือเกิดการเสียหาย จะทำ �ให้เม็ดเลือดขาวชนิด Neutrophil เพิ่มจำ �นวนขึ้น เพื่อที่จะพยายามทำ �ลายเ ลล์ทีู่่กติดเชื้อ ส่งผลให้ เ ลล์ปอดทั้งสองชนิดถูกทำ �ลายอย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน เกิดเป็นภาวะอาการหายใจลำ �บากเฉียบพลัน (Acute Respiratory Distress Syndrome, ARDS) และถ้า โปรตีนที่อยู่ในของเหลวไหลปนเข้าไปในกระแสเลือด และไปยังอวัยวะต่างๆ จะสามารถทำ �ให้เกิดการอับเสบ ทั่วทั้งร่างกาย จนผู้้่วยเสียชีวิตได้ในทีุ่่ด (Gralinski et al., 2013) ภา ลักษณะของถุงลมเมื่อมีของเหลวอยู่ภายในถุงลม ที่มา https://www.moj.go.th/view/41896
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1