นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563

27 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น เรีียนคณิิตศาสตร์์ผ่่านป่่าชุุม น : โ แก มเสริิม ะสบกา์ โดยใช้้ชุุม นเป็็นฐาน ผศ.ดร.พงศธร มหาวิจิตร • ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ • e-mail: pongsatorn1207@gmail.com วราภรณ์ โชติรัตนากูล • นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผู้สอนจำ �เป็นต้องเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ในการจัดการเรียนรู้จากแบบดั้งเดิม ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm) ที่เป็นการเรียนรู้เพื่อชีวิต สามารถนำ �สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ไปใช้ในการดำ �รงชีวิต อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยแนวทางการเรียนรู้ควรมีลักษณะดังนี้ 1) การเรียนเพื่อรู้ เป็นการเรียนเพื่อพัฒนากระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้ และวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต 2) การเรียนรู้เพื่อปฏิิบัติได้จริง เป็นการเรียนเพื่อพัฒนาความสามารถและความชำ �นาญ สามารถปฏิิบัติงานร่วมกับทีม ประยุกต์องค์ความรู้โดยบูรณาการระหว่างความรู้ภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิิบัติงานที่เน้นประสบการณ์จริง 3) การเรียนรู้เพื่อ อยู่่่วมกับผู้้�อ น การตระหนักในการพึ่งพาซึ่่� งกันและกัน การแก้ปัญหาและการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี มีความ เคารพสิทธิและศักดิ� ศรีความเป็นมนุษย์ และเข้าใจความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของแต่ละบุคคล ในสังคม และ 4) การเรียนรู้เพื่อชีวิต เป็นการเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนทุกด้านทั้งจิตใจ ร่างกายและสติปัญญา ให้ความสำ �คัญ กับจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความรับผิดชอบต่อ สังคม สิ่งแวดล้อม ศีลธรรม สามารถปรับตัวและปรับปรุงบุคลิกภาพของตน เข้าใจตนเองและผู้้�อ น (วิชัย วงษ์ใหญ่, 2561) ซึ่่� งการเรียนรู้้ังกล่าวจำ �เป็นต้องเกิดขึ้นในบริบทที่่ีความสัมพันธ์กับชีวิตจริง และมีความหมายต่อผู้เรียน รอบร้� คณิิต

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1