นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563
28 นิตยสาร สสวท.ิ ต คณิิตศาสตร์์กัับ า เรีียนรู้� โดยใช้้ชุุม นเป็็นฐาน แนวคิด า ออ แบบ า เรีียนรู้� โดยใช้้ชุุม นเป็็นฐาน เป้าหมายสูงสุดของการเรียนรู้คณิตศาสตร์ควรเป็นการเรียนรู้เพื่อนำ �ไปใช้ประโยชน์ได้จริง เห็นคุณค่าของ คณิตศาสตร์ในฐานะเป็นเครื่องมือสำ �คัญสำ �หรับแก้ปัญหาในชีวิตจริง สอดคล้องกับที่ PISA ได้ให้นิยามความหมายของคำ �ว่า ความฉลาดรู้้้านคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) ไว้ว่า “ความ ามา ถ งแต่ละบุุคคลใ กา ให้เหตุผล างคณิิต า ตร์์ และ ามา ถแ ลงปััญหา ใช้คณิิต า ตร์์ และ ตีความผลลัพธ์ างคณิิต า ตร์์เพื� ใช้ใ กา แก้้ปัญหาใิ งโลกชีวิติ ง วมถึงกา ใช้แ วคิด ก ะ ว การ ข้้อ เท็็ิ ง และเครื่� งมื างคณิิต า ตร์์เพื� ยาย อธิิ าย และคาดกา ณ์์ ากฏกา ณ์์ต่างๆ โดยสิ่� งเหล่านี้� ะช่วย ให้แต่ละบุุคคล าบถึึง า งคณิิต า ตร์์ที่� มีต่ โลกนี้� และสร้้างพื� ฐานที่่� ดีใ กา ลงข้้อุ และการตััดสิิ ใ ซึ่่� งเป็็ สิ่� งที่� จำำ �เป็็ ำ �หรัั พลเมื งใ ตว � 21 ที่� ต้้องมีความ าง์ มีการคิิดอย่่างไตร่่ต ง และมีส่่ว่ วมต่ั งคมส่่ว วม” (สสวท., 2563) ทว่าปัญหาสำ �คัญประการหนึ่งที่่ังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความฉลาดรู้้้านคณิตศาสตร์ก็คือ การพัฒนาหลักสูตร คณิตศาสตร์ของหลายๆ โรงเรียนที่่ังติดยึดกับเนื้อหาสาระตามที่แกนกลางกำ �หนดเท่านั้น โดยขาดการวิเคราะห์เชื่อมโยง เนื้อหาสาระทางคณิตศาสตร์เหล่านั้นให้สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนและชุมชน ขาดกระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน ที่จะนำ �เสนอองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ถ่ายทอดผ่านบริบทที่่ีความหมาย ส่งผลให้คณิตศาสตร์กลายเป็นเรื่องห่างไกลจาก ชีวิตจริง ซึ่่� งแนวคิดหนึ่งที่จะช่วยเอื้อให้เกิดหลักสูตรที่่ีความเชื่อมโยงกับชีวิตจริงของผู้เรียนก็คือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ ชุมชนเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community-Based Learning:CBL) เป็นกลยุทธ์การเรียนรู้้�ท ี่วยให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ในสิ่งที่่้องการจากชุมชน อาศัยชุมชนเป็นแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ และช่วยส่งเสริมทักษะการทำ �งานใน สภาพแวดล้อมจริง (Owens & Wang, 1996; Beakley, Yoder & West, 2003) โดยมีรากฐานมาจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสท์ เชิงสังคม (Social constructivism) ซึ่่� งเชื่อว่า ชุมชนหรือบริบททางสังคมมีความสำ �คัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ ความรู้จะค่อยๆ ถูกสร้างขึ้นเมื่อบุคคลมีความเข้าใจในสภาพแวดล้อมของเขามากขึ้น Introduction to Community-Based Learning (2013 อ้างใน ดิษยุทธ์ บัวจูม, 2556) ได้สรุปขั้นตอนของการจัด การเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ไว้ดังนี้ 1) การเตรียมการสิ่งที่่้องดำ �เนินการ ได้แก่ ระบุความต้องการ สรุปความรู้และทักษะของนักเรียน เตรียมข้อมูล ประสานงานกับชุมชน วางแผนสนับสนุนการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียน และผนวกรวมการเรียนรู้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร 2) การปฏิิบัติการ โดยฝึกให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะและความรู้ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง 3) การสะท้อน ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่ได้จากการศึกษาเรียนรู้ 4) พิสูจน์และสรุปผล ผู้เรียนนำ �เสนอผลการศึกษาของกลุ่มตนเอง และวางแผนพัฒนาโครงการที่จะเป็นประโยชน์ ต่อชุมชน เพื่อนำ �ไปเผยแพร่และขยายผลสูุ่่มชน จากการศึกษาของมณ ล จันทร์แจ่มใส (2558) พบว่า ปัจจัยที่จะทำ �ให้เกิดความสำ �เร็จในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ชุมชนเป็นฐานนั้น ประกอบไปด้วยการสร้างเครือข่ายทางการศึกษา (Partnership) กระบวนการทำ �งานร่วมกันระหว่างเครือข่าย (Procession) และการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนและผู้เรียน (Public Participation) ผู้เขียนได้นำ �แนวคิดข้างต้นมาวางแผน ออกแบบโปรแกรมเสริมประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์โดยใช้ชุมชน เป็นฐาน โดยเลือกบริบทพื้นทีุ่่มชนบ้านเสียว อำ �เภอโพธิ� ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่่� งมีฐานชุมชนการเรียนรู้อยู่โดยรอบ เช่น ป่าชุมชนโนนใหญ่ ศูนย์ปลอดเหล้า ศูนย์เตาุ ปเปอร์อั้งโล่ ศูนย์คนมีนำ� �ยา ปราชญ์ชาวบ้าน หมอยาสมุนไพร ในบทความนี้้ึงขอยกตัวอย่างการออกแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ สำ �หรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้แหล่งเรียนรู้ “ป่าชุมชนโนนใหญ่” ซึ่่� งเป็นป่าผืนใหญ่ที่่ีพื้นที่ประมาณ 3,040 ไร่ มีลักษณะเป็นป่าผสมและมีพันธุ์์ืช หลากหลายชนิด มาเป็นประเด็นเรื่อง (Theme) ในการสร้างหน่วยการเรียนรู้และดำ �เนินกิจกรรมการเรียนรู้
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1