นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563

35 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น ภา 5 ชิ้นงานกระถางสามมิติของผู้เรียนที่่ำ �ลังพิมพ์ด้วยเครื่องเครื่องพิมพ์สามมิติรุ่น FlashForge Creator Pro ภา 6 ผู้สอนติดตามการออกแบบของผู้เรียนรายบุคคล (้ าย) และให้คำ �แนะนำ �เพิ่มเติมบนชิ้นงานผ่านคำ �สั่ง Notes tool (ขวา) บทสรุป การใช้โปรแกรม Tinkercad ออนไลน์ เป็นสื่อการสอนออกแบบชิ้นงานสามมิติ ควรประกอบด้วยสื่อ พื้นฐานที่่ำ �คัญ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก จำ �นวนเพียงพอกับผู้เรียน สัญญาณอินเทอร์เน็ต เครื่องพิมพ์สามมิติ และเส้น พลาสติก (Filaments) จากการจัดอบรมครั้งนี้พบว่า ผู้เรียนจาก 3 โรงเรียนที่ไม่มีประสบการณ์การใช้โปรแกรมออกแบบสามมิติ มาก่อน สามารถใช้งานโปรแกรม Tinkercad ได้หลังจากเรียนรู้การใช้งานคำ �สั่งพื้นฐาน และสร้างชิ้นงานสามมิติสำ �เร็จภายใน ระยะเวลาเรียน 4 – 5 ชั่วโมง นอกจากนั้น ยังแสดงให้เห็นว่าคำ �สั่ง Create class ของโปรแกรม Tinkercad เป็นเครื่องมือช่วย ให้ผู้สอนติดตามความก้าวหน้าการเรียนรู้ของผู้เรียนได้สะดวกและทั่วถึง รวมทั้งช่วยแก้ไขข้อบกพร่องในการออกแบบชิ้นงาน ก่อนนำ �ไปพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ ในกรณีที่่ีเวลาจำ �กัดในการเรียนการสอน ผู้สอนควรสร้างโจทย์ให้ ผู้เรียน เพื่อกำ �หนดขนาดของชิ้นงานสามมิติไม่ให้ใหญ่เกินไปจนไม่สามารถพิมพ์ให้สำ �เร็จภายในเวลา ยกตัวอย่างการอบรม เชิงปฏิิบัติการของผู้เขียนในหัวข้อ “การออกแบบชิ้นงานด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ” ที่่ำ �หนดการทำ �งานกลุ่มให้ออกแบบกระถาง สำ �หรับพืชอวบนำ � � (Succulent Plant) ขนาดเล็ก โดยผู้เขียนใช้ขนาดของต้นไม้เป็นเกณฑ์์กำ �หนดขนาดการออกแบบกระถาง สามมิติของผู้เรียน (ดังแสดงในภาพ 7) จะเห็นได้ว่ากระถางสามมิติของผู้เรียนบางกลุ่มมีขนาดเล็กเกินไป ซึ่่� งผู้สอนสามารถ อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อพึงระวัง ระหว่างขนาดของชิ้นงานสามมิติในโปรแกรม Tinkercad กับขนาดชิ้นงานจริงจาก เครื่องพิมพ์สามมิติ เพื่อให้ผู้เรียนนำ �ไปพัฒนาหรือปรับปรุงการออกแบบชิ้นงานสามมิติครั้งต่อไป นอกจากนี้ ผู้เขียนพบว่าโปรแกรม Tinkercad ออนไลน์สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนดิจิทัล โดยเฉพาะ กับห้องเรียนดิจิทัลที่่ีความพร้อมเรื่องสื่อสนับสนุนด้าน ICT (Information and Communication Technology) อื่นๆ ประกอบด้วย ซึ่่� งสอดคล้องกับงานวิจัยการใช้เทคโนโลยีออนไลน์ในห้องเรียนดิจิทัลของ Ozerbas และ Erdogan (2016) รวมถึงความสอดคล้องของการใช้สื่อโปรแกรม Tinkercad ออนไลน์กับหลักจัดการเรียนในห้องเรียนดิจิทัลของ Mashhadi และ Kargozari (2011) Yazid และ Bakar (2016) ที่สนับสนุนให้เกิดปฏิิสัมพันธ์ของรูปแบบการเรียนการสอน 2 ส่วน ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอนในลักษณะิ งโครนัสระหว่างผู้เรียนกับบุคคลอื่นในเวลาเดียวกัน และรูปแบบการเรียนการสอนใน ลักษณะอะิ งโครนัสที่่� ผ เรียนกับบุคคลอื่นไม่จำ �เป็นต้องมีปฏิิสัมพันธ์การเรียนรู้ในเวลาเดียวกัน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1