นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563
43 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น - ใช้ข้อมูลทางวิชาการ คำ �คม ประโยคเด็็ การยกข้อมูลทางวิชาการ คำ �คม ประโยคเด็ด คำ �พูดของคนดังหรือคนสำ �คัญมาใช้ก่อนเริ่มการนำ �เสนอ จะเป็น การเพิ่มความน่าเชื่อถือได้มากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีการอ้างอิงคำ �พูดของบุคคลที่่�ผ ูังรู้้ัก ซึ่่� งขึ้นอยู่่ับลักษณะของงานวิจัย ภา 9 ตัวอย่างการใช้ข้อมูลสื่อความหมายและดึงดูดความสนใจเกี่ยวกับที่มาและความสำ �คัญของงานวิจัย (ก) การใช้ข้อมูลจริงและ ประโยคเด็ด (ที่มา: ธนพล แสนสีคําม้วน, กวิสรา สิงห์คําหาญ และอมราพร สิริพาณิชยกิจ, 2563) และ (ข) การใช้ข้อมูลทาง วิชาการ ข้อมูลสถิติ และภาพจริง (ที่มา: มนัสนันท์ รัตนโชคสิริกูล, แพรวพรรณ ธุรีวรรณ และนราวิชญ์ สุนทราจารย์, 2563) ภา 10 ตัวอย่างการใช้ภาพสื่อความหมายแทนข้อความเกี่ยวกับที่มาและความสำ �คัญของงานวิจัย (ก) การใช้ภาพจากอินเทอร์เน็ต และ (ข) ภาพจากข่าวสถานการณ์จริง (ที่มา: นัทธ์นิตา เดชาชยวงษ์, รพีพงศ์ ภาคนนท์กุล และสริดา ชัม, 2563) (ก) (ก) (ข) (ข) - ใช้รูปภาพที่่� น่าสนใจ รูปภาพย่อมสื่อความหมายได้ดีกว่าคำ �พูด การใช้รูปภาพที่สวยงามแต่เรียบง่าย หรือรูปภาพที่่ึงดูดความสนใจของ ผู้้ัง จะช่วยสร้างความประทับใจเมื่อแรกเริ่มได้เป็นอย่างดี การเลือกภาพต้องคำ �นึงถึงลิขสิทธิ� ของภาพด้วย จึงควรเลือกใช้ ภาพที่่่ายเอง หากมีการคัดลอกภาพจากอินเทอร์เน็ต หรือจากผลงานผู้้� อ นต้องมีการอ้างอิงเจ้าของผลงานทุกครั้ง 4. การใช้้ Template สไลด์์้์ ควรใช้ Template ที่เรียบง่าย ดูสบายตา มีสีสันสอดคล้องกับหัวข้องานวิจัย เช่น งานวิจัยเรื่องเกี่ยวกับข้าว สีที่ควรใช้ เช่น เขียว เหลือง นำ� �ตาล ขาว ส่วน Template ที่มากับโปรแกรม Microsoft PowerPoint มักมีลวดลาย สีสันลายตา และมีผู้ใช้จำ �นวนมาก ควรลอง สร้าง Template เอง โ ยการใช้รูปแบบเรียบๆ มีความแปลกใหม่
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1