นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563

44 นิตยสาร สสวท.ิ ต ภา 11 ตัวอย่างการใช้ภาพจริงสื่อความหมาย (ก) การเก็บตัวอย่างลูกนำ� �ยุง (ที่มา: วราภรณ์ ศรีเป้า, จิรภัทร ทองหอม และกานต์สินี อนุการ, 2563) และ (ข) การแสดงจุดศึกษาในการวิจัย (ที่มา: สุนิษา สะอาด, ศรัจจันทร์ สว่างวิทย์ และนลอัปสร เลิศและ, 2563) (ก) (ข) 5. การเลือกรูปแบบและ นาดอัักษรืูั การเลือกรูปแบบและขนาดอักษร ถือว่ามีความสำ �คัญอย่างยิ่งในการนำ �เสนองานวิจัยหรืองานวิชาการ สำ �หรับ อักษรภาษาไทย ควร เลือกใช้แบบอักษรที่่ีหัวและมีขนา ใหญ่อย่างน้อย 36 Point (ขนาดควรขึ้นกับแบบอักษรและเนื้อหา) เช่น TH SarabunPSK สำ �หรับอักษรภาษาอังกฤษ ควรเลือกใช้แบบอักษรที่เป็นตัวพิมพ์ ไม่ใช้ตัวอักษรตัวเขียน เพื่อให้ผู้้ัง สามารถอ่านตามได้ง่าย เช่น Arial, Helvetica, Cloud และควรเป็นอักษรแบบเดียวกันทั้งหมดตลอดการนำ �เสนอหรือ ไม่เกินสองแบบ โดยหัวข้อจะมีขนาดใหญ่กว่าเนื้อหา หัวข้อใหญ่กำ �หนดขนาดตัวอักษรใหญ่กว่าหัวข้อย่อย นอกจากนี้ การเลือกใช้แบบตัวอักษรที่ไม่ซ้ำำ� ากจำ �เจแต่อ่านง่าย จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการนำ �เสนอให้ดูดีเป็นที่จดจำ �มากขึ้น ซึ่่� งสามารถเลือกดาวน์โหลดรูปแบบอักษรฟรีจากเว็บไ์ ต่างๆ 6. ค ามคมชัั ระ่ างข้้อค ามและพ้� นหลัังั่้้ �ั ควรเลือกใช้ สีข้อความและพื้้� นหลังเป็นสีที่่ัดกััน เช่น เลือกตัวอักษรสีเข้มบนพื้นหลังสีสว่าง ถ้าพื้นสีเข้ม ก็ควรเลือกใช้ตัวอักษรสีอ่อน เพื่อสะดวกในการอ่านมากขึ้น หากใช้ภาพเป็นพื้นหลัง ควรเป็นภาพที่่ีสีเรียบ ไม่ฉูดฉาด และ สีของข้อความควรเป็นสีที่่ัดกับพื้นหลัง ไม่ควรใช้ภาพที่่� มีลว ลายมาก อาจมีการเพิ่มลูกเล่นโดยใส่กรอบข้อความสีเรียบ เพื่อให้ข้อความดูโดดเด่นน่าสนใจมากขึ้น 7. การเน้นข้้อค าม้้ ควรใช้ เน้นเฉ าะคำ �สำ �คัญ และควรเลือกใช้ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ หรือเน้นสี การเน้นข้อความด้วยสีจะเลือกใช้ สีที่สะดุดตาและเป็นสีที่่่างจากข้อความปกติ ซึ่่� งจะเหมือนการทำ �ไฮไลท์ข้อความนั่นเอง 8. ค ามยา องข้้อค าม้ ในหนึ่งสไลด์ไม่ควรใส่ข้อความมากเกินไป เพราะว่าจะทำ �ให้สไลด์เต็มไปด้วยข้อความ ไม่น่าอ่าน (จุ าทิพ บุญสมบัติ, 2563) 9. การใช้้ภาพสื� อค าม มาย้ื � การใช้ข้อความเพียงอย่างเดียวอาจทำ �ให้สไลด์ดูไม่น่าสนใจ และไม่สามารถจินตนาการได้ หากนำ �ภาพที่เกี่ยวข้อง กับงานวิจัยมาประกอบด้วย จะทำ �ให้สไลด์ดูน่าสนใจ และทำ �ให้ผู้้ังเข้าใจสิ่งที่่้องการจะสื่อสารได้มากยิ่งขึ้น การออกแบบ ที่่ีควรมี ภา 1 ภา หรือไม่เกิน 2 ภา่ อหนึ่งสไลด์์ และมีข้อความประกอบเี ยงเล็กน้อย เนื่องจากภาพหนึ่งภาพ สามารถสื่อสารแทนคำ �พูดได้ ทำ �ให้ผู้้ังรับรู้้ึงเป้าหมายและประเด็นที่่้องการนำ �เสนอได้ง่ายยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ไม่ใช่ทุกอย่าง ที่่้องแสดงเป็นภาพ ควรคำ �นึงถึงความเหมาะสมด้วย (จุ าทิพ บุญสมบัติ, 2563) อย่างไรก็ตาม การเลือกภาพต้องคำ �นึงถึง ลิขสิทธิ� ของภาพ ควรเลือกใช้ภาพที่่่ายเอง หากมีการคัดลอกภาพจากอินเทอร์เน็ต หรือจากผลงานผู้้�อ นควรมีการอ้างอิง เจ้าของผลงานทุกครั้ง

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1