นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563

49 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น ชั� นตอนการทำ �ครองแครงกะทิส การออกแบบกิจกรรมย่อยเพื่่� อให้สอ คล้องกับตัวชี� วั 1. การผสมแป้งกับนำ� �และกับนำ� �สี ในการทำ �ครองแครงกะทิสด จะใช้ แป้ง 2 ชนิด คือ แป้งมัน และ แป้งข้าวเจ้า โดยใช้แป้งมันมากกว่า แป้งข้าวเจ้า ในอัตราส่วน ที่แตกต่างกัน เช่น 3 : 1 หรือ 4 : 1 ระหว่างการผสมแป้งกับนำ� �เปล่า กับการผสมแป้งกับนำ� �สี หากทำ �การผสมแป้งกับนำ� �เปล่า และผสมแป้งกับนำ� �สีในอัตราส่วนเดียวกัน จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของแป้งต่างกัน หรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด ให้นักเรียนคาดการณ์และวางแผนการทดสอบ พร้อมทั้ง อธิบายผลที่เกิดขึ้น (สาระที่ 4 เทคโนโลยี, สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ข้อ 2) ลำ �ดับของการทำ �งาน เช่น การเทแป้งใส่ลงในนำ� �เปล่า การเทแป้งใส่ลงในนำ� �สี การเท นำ� �เปล่าใส่ลงในแป้ง และการเทนำ� �สีใส่ลงในแป้ง การทำ �งานทั้ง 4 ขั้นตอน จะให้ผล เหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร ให้นักเรียนคาดการณ์และวางแผนการทดสอบ พร้อม ทั้งอธิบายผลที่เกิดขึ้น (สาระที่ 4 เทคโนโลยี, สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ข้อ 2) อัตราส่วนของแป้ง 2 ชนิดที่ใช้ มีผลต่อการละลายในนำ� �หรือไม่ และมีผลต่อเนื้อสัมผัส ของครองแครงเมื่อปรุงสุกหรือไม่ อย่างไร (สาระที่ 4 เทคโนโลยี, สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ข้อ 3, 4) ระหว่างสีธรรมชาติกับสีสังเคราะห์ เมื่อนำ �มาละลายนำ� �และผสมกับแป้งในอัตราส่วน เดียวกัน จะมีการเปลี่ยนแปลงต่อความเข้มของสีก่อนผสมและหลังผสมกับแป้งอย่างไร ให้นักเรียนคาดการณ์ วางแผนการทดสอบ และอธิบายผลที่เกิดขึ้น (สาระที่ 4 เทคโนโลยี, สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ข้อ 2) 2. การผสมสี สีธรรมชาติ (เช่น ดอกอัญชัญ กระหลำ � �ปลีม่วง ไม้ฝางแดง ดอกเก็กฮวย ใบเตย) และสี สังเคราะห์ (สีม่วง สีชมพู และสีแดง) เมื่อนำ �สีทั้งสองชนิดมาผสมกับนำ� �มะนาว จะเกิด การเปลี่ยนแปลงอย่างไร ให้นักเรียนคาดการณ์ผลที่จะเกิดขึ้น วางแผนการทดสอบ อภิปราย และสรุปผลการทดสอบ (สาระที่ 4 เทคโนโลยี, สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ ข้อ 3-4) สำ �หรับขั้นตอนพื้นฐานในการทำ �ครองแครงกะทิสด ผู้สอนสามารถค้นหาได้จากสื่ออินเทอร์เน็ต เพื่อนำ �มาใช้ ในการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับตัวชี้้ัดและสาระการเรียนรู้ ทำ �ให้การเรียนรู้ในกิจกรรมนี้สามารถวัดและประเมินผล การเรียนรู้ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น จากตาราง 1 ตัวชี้้ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ ในสาระที่ 2 วิทยาศาสตร์ กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 ผู้เรียนควรจะสามารถอธิบายและวิเคราะห์ได้จากหลักฐานเชิงประจักษ์ จากขั้นตอนปกติของการ ทำ �ครองแครงโดยทั่วไป สำ �หรับสาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบาย การทำ �งาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย และในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในสาระที่ 2 การวัดและ เรขาคณิต และสาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น ผู้สอนจำ �เป็นต้องออกแบบกิจกรรมย่อย โดยในกรณีนี้ สามารถ สร้างข้อกำ �หน เพิ่่� มเติม ขึ้นมาได้ ดังตาราง เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสในการคิด แก้ปัญหา และคาดการณ์ถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น และใช้ในการวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การปรับกิจกรรมการทำำ �ครองแครงกะทิิสด และออกแบบกิจกรรมย่อย ให้ครอบคลุมกับตัวชี้้� วัดและสาระการเรียนร้� แกนกลางที่� นำ �มาใ้ ตาราง 2 แนวทางการออกแบบกิจกรรมย่อยเพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้้ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่่ำ �มาใช้

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1