นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563

51 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น การเรียนกระตุ้้� น ความคิด ดร.นิพนธ์ จันเลน • นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. • e-mail: nicha@ipst.ac.th ความเข้้าใจคลาดเคล่� อนที่่� พบได้บ่อยเกี่� ยวกัับ ฤษฎีี “ ารสร้างองค์ความร้� ด้วยตนเอง ( C onstructivism)” ภา 1 กระบวนการสร้างองค์ความรู้้้วยตนเอง ารสร้างองค์ความร้� ด้วยตนเองคืออะไร ดสอบ ตัวเอง ท่านเห็นด้้วยกับข้อความต่อไปนี� หรือไม่ 1. การสอนแบบบรรยาย (Lecture) เป็นการสอนที่ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะนักเรียนไม่ได้ สร้างองค์ความรู้้้วยตนเอง 2. การที่่ักเรียนจะสร้างองค์ความรู้้้วยตนเองได้ ต้องให้นักเรียนทำ �ปฏิิบัติการทางวิทยาศาสตร์ หรือกิจกรรมที่่ีการลงมือปฏิิบัติ และให้นักเรียนสรุปความรู้้�ท ีักเรียนค้นพบด้วยตนเอง ถ้าท่านเห็นด้วยกับข้อความข้างต้นทั้ง 2 ข้อความ ท่านอาจจะเป็นอีกคนหนึ่งที่่ีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ ทฤษฎี “การสร้างองค์ความรู้้้วยตนเอง” หรือ “constructivism” เหมือนผู้สอน และนักการศึกษาอีกจำ �นวนมากทั่วโลก ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้้้วยตนเอง (Constructivism) เป็นทฤษฎีหนึ่งที่พยายามอธิบายว่าคนเราเกิดการเรียนรู้ ได้อย่างไร ซึ่่� งมีใจความสำ �คัญคือ ความรู้เป็นเรื่องส่วนบุคคล โดยความรู้จะไม่สามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนึ่งไปยังอีก บุคคลหนึ่งได้ แต่ความรู้จะต้องสร้างขึ้นจากความรู้เดิมของแต่ละคนด้วยตนเอง ดังนั้นในบริบทของห้องเรียน ทฤษฎีการสร้าง องค์ความรู้้้วยตนเองเชื่อว่า ผู้เรียนไม่ได้เดินเข้าห้องเรียนมาด้วยสมองที่่่างเปล่า แต่ผู้เรียนทุกคนมีความรู้เดิมเกี่ยวกับ สิ่งรอบตัวอยู่แล้ว โดยความรู้้�น นจะถูกเก็บไว้ในรูปแบบของข้อมูลที่เชื่อมโยงกันไว้ (Conceptual Framework) ความรู้เดิมของ ผู้เรียนอาจจะถูก (เป็นที่ยอมรับ) หรือผิด (ไม่เป็นที่ยอมรับ) ก็ได้ เมื่อผู้เรียนได้ข้อมูลใหม่ ผู้เรียนก็จะนำ �ข้อมูลนั้นมาประกอบ เข้ากับความรู้เดิมของผู้เรียนผ่านการแปลความหมายตามความเข้าใจของผู้เรียนเอง ดังแผนภาพ 1 จะเห็นว่าจุดเน้นของ การสร้างองค์ความรู้้้วยตนเองนี้ เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองของผู้เรียน และผู้เรียนเป็นผู้้ำ �หนดเองทั้งหมด ผู้สอน ไม่มีสิทธิ� กำ �หนดเลยว่าข้อมูลใหม่ที่่ักเรียนได้รับไปนี้ จะประกอบหรือเชื่อมโยงเข้ากับส่วนใดของความรู้เดิมที่่ี ก. ผู้เรียนมีความรู้เดิมอยู่แล้ว โดยผู้เรียน จะเก็บความรู้ไว้ในลักษณะของข้อมูลที่ เชื่อมโยงกัน ข. ผู้เรียนแปลความหมาย ข้อมูลใหม่ที่ได้รับ เพื่อ พยายามสร้างความเข้าใจ ค. ผู้เรียนเชื่อมโยงข้อมูลใหม่เข้ากับ ความรู้เดิมในตำ �แหน่งที่่�ผ เรียนคิดว่า เหมาะสมทีุ่่ดจนเกิดเป็นความรู้ใหม่ ของตนเอง ข้้อมูลใหม่่ แปลค าม มาย ค ามร้� เดิิม ค ามร้� ใหม่่

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1