นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563
7 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น รอบร้� วิทย์์ ดร. เสาวลักษณ์ บัวอิน • นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ภาคบังคับ สสวท. • e-mail: sabua@ipst.ac.th ง่่าย ๆ กัับ ารนำำ �พืืชใ ล้้ตััว่ั ำื้ั มาสอนวิิทยาศาสตร์์ใ ห้้อ เรียิ์้ี จากการิ จารณาตัวชี� วัดวิิทยาศาสตร์ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั� นพื้้� นฐาน ุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ ปรับปรุง ุทธศักราช ๒๕๖๐) บว่ามีตัวชี� วั เกี่ยวกับื ชทั� งระดัับประถมศึกษาและมัธยมศึกษามากกว่า 20 ตัวชี� วั และส่วนใหญ่จำ �เป็นอย่างยิ่งที่่้องนำ �ตัวอย่างื ชมาใช้ในการจั การเรียนการสอน หรือการทำ �กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ โ ยการให้นักเรียนสังเกตลักษณะของื ช และใช้ในการศึกษากระบวนการต่างๆ ของื ช ซึ่่� งการให้นักเรียนได้้ลงมือ ทำ �กิจกรรมนั� น เป็นการให้นักเรียนได้้ค้น บองค์ความรู้้�้วยตนเองและฝึึกทักษะกระบวนการต่างๆ เนื่องจากพืชมีความหลากหลาย การนำ �พืชมาใช้ในกิจกรรมของแต่ละเนื้อหา จึงควรเลือกใช้พืชที่่ีลักษณะ เหมาะสมกับกิจกรรมนั้นๆ เพราะพืชหลายชนิดอาจมีลักษณะคล้ายกัน และเมื่อนำ �มาใช้ทำ �กิจกรรมอาจได้ผลที่ไม่ชัดเจน หรือไม่เหมือนกัน ด้วยเหตุนี้หลายๆ ครั้ง การนำ �พืชมาใช้ในห้องเรียนจึงสร้างความลำ �บากใจให้กับผู้สอนที่ไม่สามารถเตรียมพืช ตามตัวอย่างที่แนะนำ �ในหนังสือเรียนมาใช้ได้ และไม่ทราบว่าสามารถใช้พืชชนิดใดทดแทนได้บ้าง เมื่อไม่สามารถเตรียม ตัวอย่างพืชได้ อาจส่งผลให้นักเรียนไม่ได้ทำ �กิจกรรมนั้น ในบทความนี้้ึงแนะนำ �ตัวอย่างพืชชนิดต่างๆ ที่เหมาะสมกับการนำ �มาใช้ในการทำ �กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ซึ่่� งครอบคลุมเนื้อหาทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยพืชที่แนะนำ �นี้หลายชนิดพบได้ทั่วไปทั้งในโรงเรียนและ ในชุมชน ไม่จำ �เป็นต้องซื้้� อหาเพื่อนำ �มาใช้ในห้องเรียน ซึ่่� งผู้้่านอาจจะคิดไม่ถึงเลยว่าพืชที่เคยเห็นอยู่ในชีวิตประจำ �วันจะมี ประโยชน์ต่อการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์อย่างมาก สำ �หรับกิจกรรมที่่้องสังเกตลักษณะของส่วนหรืออวัยวะต่างๆ ของพืช ทั้งราก ลำ �ต้น ใบ ดอก และผล ควรใช้พืชทั้งต้นที่สามารถสังเกต ลักษณะของส่วนต่างๆ ได้ชัดเจน ซึ่่� งอาจต้องถอนต้นพืชหรือขุดดินที่โคน เพื่อสังเกตราก ต้นพืชจึงไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป ซึ่่� งจะแบ่งพืชที่แนะนำ � ให้นำ �มาใช้ได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ พืชดอก และพืชไม่มีดอก กิิจ รรมที� ใช้พืืชทั�้ ตััวอย่่างพืืชที่่� สามารถนำำ �มาใช้ได้้ใ กิิจ รรม างวิ าศาสตร์์เนื้� อหาต่่างๆ ื ช อกื ชไม่มี อก พริก เทียนบ้าน อัญชัน ผักหวาน บ้าน ต้อยติ่ง ต้อยติ่งฝรั่ง มะเขือ ต่างๆ พุด เข็ม ชบา แพงพวย บานบุรี แก้ว ชวนชม หางนกยูง กล้วยไม้ มอส ปรง เฟิร์นชนิดต่างๆ ที่พบได้ ทั่วไป เช่น เฟิร์นข้าหลวงหลังลาย เฟิร์นก้านดำ � เฟิร์นชายผ้าสีดา เฟิร์นใบมะขาม ภา 1 ตัวอย่างส่วนประกอบต่างๆ ของพืช ที่มา https://sites.google.com/site/biodiversity- scnu/plantfa
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1