นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563

9 ปีที่ 49 ฉบับที่ 227 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563ี ที่ ั บี่ ิ กั น กิิจ รรมที� ใช้ใบ ใบเป็นอีกส่วนหนึ่งที่่ำ �คัญของพืชที่่ีการนำ �มาใช้ ในการศึกษาหลายเนื้อหาด้วยกัน เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนัก ถึงประโยชน์ของพืช ตัวอย่างเช่น การศึกษาเ ลล์ โครงสร้าง และกระบวนการต่างๆ ที่เกิดในใบ ซึ่่� งในบทความนี้จะแนะนำ � ตัวอย่างพืชตามลักษณะของกิจกรรมที่่้องการศึกษา ดังนี้ กิจกรรม ลักษณะของื ชที่่้องการ ตัวอย่างื ชที่แนะนำ � การศึกษาลักษณะของเ ลล์ พืชมีใบที่สามารถสังเกตเ ลล์ได้ง่าย สาหร่ายหางกระรอก สาหร่ายเดน่ า กระสัง การศึกษาปากใบ พืชมีใบที่สามารถฉีกเพื่อลอกเนื้อเยื่อ แผ่นใบด้านบนและแผ่นใบด้านล่าง ได้ง่ายื ชบก ถั่ว หัวใจม่วง มันสำ �ปะหลัง ว่านกาบหอย พลับพลึง บอนสี เตยหอมื ชที่ใบปริ่มนำ� � บัวสาย บัวบา กระจับื ชที่ใบอยู่ใต้นำ� � สาหร่ายหางกระรอก สันตะวาใบพาย การศึกษาโครงสร้างของใบ พืชที่สามารถตัดเนื้อเยื่อของใบได้สะดวก สามารถใช้ได้ทั้งใบที่บางสามารถม้วน ได้ง่าย และใบที่หนาและแข็งื ชใบเลี� ยงเดี่่ยว ข้าวโพด หญ้าขน ว่านกาบหอย ขิง ข่า ไพล พุทธรักษา ผักตบชวา บัวอเม อน พลูด่าง ื ชใบเลี� ยงคู่ หมอน้อย โหระพา ตำ �ลึง ต้อยติ่ง ผักบุ้งนา ถั่วฝักยาว ผักโขม โมก การศึกษากระบวนการ สังเคราะห์ด้้วยแสง (การทดสอบโดยสารละลาย ไอโอดีน) พืชที่่ีใบขนาดไม่ใหญ่เกินไป แผ่นใบ ไม่หนา ไม่มีไขมันหรือขนปกคลุม ต้ม แล้วไม่ฉีกขาดง่าย ไม่เละ และใช้เวลา สกัดคลอโรฟิลล์ออกไม่นาน พริก ชบา อัญชัน ถั่วเขียว โหระพา ต้อยติ่ง โมก ปีบ ทองอุไร บาหยา มะยม การศึกษาผลของคลอโรฟิิลล์ ในการสังเคราะห์ด้้วยแสง พืชที่่ีใบเป็นด่างขาว ขนาดใบไม่ใหญ่ เกินไป แผ่นใบไม่หนา ไม่มีไขมันหรือ ขนปกคลุม ต้มแล้วไม่ฉีกขาดง่าย ไม่เละ และใช้เวลาสกัดคลอโรฟิลล์ออกไม่นาน ชบาด่าง บาหยาด่าง โมกด่าง มันสำ �ปะหลัง ด่าง มังกรคาบแก้วด่าง ตัวใบ ก้านใบ หูใบ เส้นกลางใบ เส้นใบ เส้นใบ แบบตาข่าย ภา 5 ตัวอย่างส่วนประกอบต่างๆ ของใบพืช

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1