นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

คณะที่ปรึกษา ประธานกรรมการ สสวท. ผู้อำ �นวยการ สสวท. รองผู้อำ �นวยการ สสวท. บรรณาธิการบริหาร ธรชญา พันธุนาวนิช หัวหน้ากองบรรณาธิการ ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยผู้อำ �นวยการ ผู้อำ �นวยการสาขา/ฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ/ผู้เชี่ยวชาญ ขจิต เมตตาเมธา จินดาพร หมวกหมื่นไวย ดร.ดวงกมล เบ้าวัน นันทฉัตร วงษ์ปัญญา ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.ประวีณา ติระ ดร.ภัทรวดี หาดแก้ว ดร.รณชัย ปานะโปย ดร.สนธิ พลชัยยา ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ เทอด พิธิยานุวัฒน์ นิลุบล กองทอง รัชนีกร มณีโชติรัตน์ ศิลปเวท คนธิคามี สินีนาฎ จันทะภา สิริมดี นาคสังข์ สุประดิษฐ์ รุ่งศรี เจ้าของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307 (ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง) วัตถุประสงค์ 1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป 2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท. 3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี จากครูและผู้สนใจทั่วไป จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่่� งเป็นภาวะฉุกเฉินของโลก วัคี นถือเป็น เครื่องมือสำ �คัญในการลดความรุนแรงของอาการป่วยและลดอัตราการเสียชีวิตลงได้ ข่าวสารเกี่ยวกับ ความแตกต่างกันในประสิทธิภาพวัคี นของแต่ละบริษัทได้เผยแพร่มากมาย แล้วการทดลองหา ประสิทธิภาพของวัคี นนั้นทำ �กันอย่างไร คำ �นวณกันอย่างไร ติดตามได้ในบทความ สสวท. ได้ส่งเสริมและพัฒนาสะเต็มศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเพื่อการประยุกต์ใช้ใน การทำ �งานขับเคลื่อนสู่ประเทศไทย 4.0 ตามวิถีใหม่ ผ่านโครงการที่่่าสนใจ เช่น การปรับการเรียน เปลี่ยนการสอนโดยพัฒนาครูผู้สอน โรงเรียนคุณภาพ SMT นำ �เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนา รูปแบบ การเรียนรู้แบบออนไลน์ การศึกษาทางไกล และการเรียนรู้้่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผลักดันให้สะเต็มศึกษา กระจายไปทุกภูมิภาคผ่านเครือข่ายครูที่่ีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (ครู สควค.) อีกความท้าทายของครูวิทยาศาสตร์ในยุคนี้ คือ นักเรียนที่่ีความต้องการจำ �เป็นพิเศษ ในชั้นเรียนเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียนออทิสติก ครูต้องปฏิิบัติตนและวางแผนการจัด การเรียนรู้ให้เหมาะสมและเท่าเทียมสำ �หรับนักเรียนทุกคนในชั้นเรียน ศึกษาได้จากบุคลากรที่่ี ประสบการณ์ และถอดบทเรียนร่วมกัน แม้ยุคนี้เราอาจไม่สะดวกในการเดินทางไปต่างประเทศ แต่เรายังสามารถเที่ยวทิพย์ได้ ลองนึกภาพว่าเราไปเที่ยวต่างประเทศในทีู่่งๆ เช่น เทือกเขาเอเวอเรสต์ที่่ีความดันบรรยากาศตำ � �มาก จะมีผลกระทบต่อการหายใจอย่างไร เรามาศึกษาถึงสาเหตุและวิธีการปรับตัวของคนในพื้นที่่ัน ขอให้ใช้ชีวิตแบบ New Normal อย่างมีความสุข ดูแลสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง หลีกเลี่ยงในพื้นที่่�ท ีีผู้คนหนาแน่น สวมหน้ากากอนามัย รวมทั้งหมั่นล้างมือบ่อยๆ ติดตามนิตยสาร สสวท. ออนไลน์ที่ emagazine.ipst.ac.th แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ ธรชญา พันธุนาวนิช บรรณาธิการบริหาร เปิดเล่ม สสวท.ี 49 ฉั 229 นาค - เ ษายน 2564

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1