นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

10 นิตยสาร สสวท.ิ ต • ชี้แจงขั้นตอนและแนวทางปฏิิบัติให้ชัดเจน สำ �หรับนักเรียน ออทิสติก ครูอาจต้องวางแผนให้นักเรียนกำ �หนดบทบาท หน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม ใช้คำ �พูดที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยน บทบาทหน้าที่ และช่วยในการชี้แจงงานที่ได้รับมอบหมายของ กลุ่มให้กับนักเรียนออทิสติก โดยกำ �หนดว่านักเรียนออทิสติก จะต้องทำ �อะไรบ้าง หรืออาจสาธิตให้ดูอย่างเป็นรูปธรรม หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่่้องตัดสินใจหรือใช้ความคิด (ให้เป็น หน้าที่ของนักเรียนทั่วไป) เช่น ให้นักเรียนช่วยหยดสาร A จากนั้นนำ �ไปผสมกับสาร B แล้วเขียนบรรยายลักษณะที่เกิดขึ้น ช่วยสืบค้นข้อมูล ช่วยตกแต่งระบายสี ในส่วนของการอภิปรายผล อาจเป็นหน้าที่ของเพื่อนคนอื่น 3. เ คนิิคกา ำ �สิ� งที่� นัักเรีีย อบมาเป็็ างวััลและกา ลงโ ษ นอกจากครูจะนำ �สิ่งที่่ักเรียนชอบมากระตุ้น การเรียนรู้หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแล้ว อาจจะนำ �สิ่งเหล่านี้ มาเป็นรางวัลและการลงโทษได้อีกด้วย เช่น ถ้านักเรียนสนใจ การเกิดนำ� �วนในโถชักโครกเป็นพิเศษ ทำ �ให้ต้องเข้าห้องนำ� � บ่อยมาก ครูอาจใช้การเปิดนำ� �วนในอ่างล้างมือของห้องปฏิิบัติ การทางวิทยาศาสตร์ เพื่อดึงความสนใจให้นักเรียนเข้ามาอยู่ ในชั้นเรียน จากนั้นจึงค่อยปรับเป็นการสร้างนำ� �วนในขวดนำ� �ที่ ตั้งอยู่บนโต๊ะเรียน นำ �มาสู่การจัดการเรียนรู้เรื่องพายุหมุน หรือ อาจสร้างข้อตกลงร่วมกันโดยให้นักเรียนนั่งเรียนนานเท่าไร จึงจะอนุญาตให้เข้าห้องนำ� �ได้ ซึ่่� งสิ่งเหล่านี้ครูต้องหมั่นสังเกต และต้องใช้เวลาในการปรับตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป มิฉะนั้น นักเรียนอาจเกิดพฤติกรรมต่อต้านได้ ที่มา http://www.acnews.net/detailnews.php? news_i d=N256130544 • พยายามออกแบบกิจกรรมให้มีความยากระดับปานกลาง เพื่อให้นักเรียนออทิสติกมีส่วนร่วมมากทีุ่่ด ครูอาจประเมิน สถานการณ์เป็นระยะ แต่ไม่ควรให้ความสำ �คัญมากเกินไป เพราะอาจสร้างความกดดันต่อตัวนักเรียน โดยรูปแบบ กิจกรรมที่อาจเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของนักเรียนออทิสติกสูงสุด คือ การสร้างโมเดลเพื่ออธิบายปราก การณ์ ทางธรรมชาติอย่างเป็นรูปธรรม • หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์ของมีคม อุปกรณ์ไวไฟ และพยายามไม่ให้นักเรียนออทิสติกมีบทบาทในการใช้กล้ามเนื้อ มัดเล็ก เช่น การใช้กรรไกรตัดกระดาษ เนื่องจากนักเรียนกลุ่มนี้้ักมีปัญหาในการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา ของการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการจับหยิบสิ่งของ • ส่งเสริมกิจกรรมการฝึกทักษะการสื่อสาร เช่น การนำ �เสนอผลการทดลองหน้าห้องเรียน การจัดนิทรรศการ ฝึกการตอบคำ �ถามหรือการให้คำ �อธิบายเพิ่มเติม • พิจารณาข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพของนักเรียน เช่น สารเคมีที่แพ้หรือโรคประจำ �ตัว

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1