นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

11 ปีที่ 49 ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564ี ที่ ั บี่ ี น การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนสำ �หรับนักเรียนออทิสติกที่่ีประสิทธิภาพสูงสุด ควรเป็นการทำ �งานอย่างสอดคล้อง และร่วมมือกันจากทั้ง 3 ฝ่าย คือ ครอบครัว ครูประจำ �วิชา และครูการศึกษาพิเศษ โรงเรียนควรจัดสรรครูการศึกษาพิเศษหรือ ผู้้�ท ีีความเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษาพิเศษ เพื่อช่วยในการวางแผนการจัดการเรียนรู้้�ท ีูกต้องและเหมาะสม ครูควรเข้าใจ เอาใจใส่ หมั่นสังเกต และประเมินนักเรียนออทิสติกอย่างสมำ� �เสมอ ซึ่่� งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ และ การควบคุมชั้นเรียนได้ บรรณานุกรม American Psychiatric Association. (2013). Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder. 5th ed. Arlington, VA: Author. Ferraioli, S. J. & Harris, S. L. (2011). Effective educational inclusion of students on the Autism Spectrum. Journal of Contemporary Psychotherapy. 41: 19-28. DOI: 10.1007/s10879-010-9156-y. National Research Council (NRC). (1996). National Science Education Standards. Washington, DC: National Academy Press. ผกาพันธ์ อินต๊ะแก้ว. (2553). รูปแบบการจัดการความรู้ของกลุ่มโรงเรียนสาธิต. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2561, จาก http://www.drpta.com/ index.php?mo=3&art=508882. ผดุง อารยะวิญญูู. (2529). ารเรียนร่่ ม . กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ระพีพร ศุภมหิธร. (2552). รูปแบบ ารจััด ารศึึ ษาพิเ ษ โรงเรีย าธิิ แห่งมหาวิิทยาลัยเ ษ ร า์ . กรุงเทพมหานคร. ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2561, จาก http://158.108.70.5/special/t_t2_18.html?fbclid=IwAR3H_ToH- bELm0pKbHcfEuLqAxAg3uQylaxktF4ueYuYlypyUfGxFK82iqCg. ศูนย์พัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). ารพัฒ าเด็ ออทิ ติิ . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สุทธาสินี จิตรกรรมไทย. (2547). รู้จัั “ออทิ ติิ ” . กรุงเทพมหานคร: หนังสือพิมพ์มติชน. สำ �นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผ ารศึึ ษาแห่ง าติิ พ. .2560 – 2579 . กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำ �กัด. • ฉุนเฉียวแล้วอยู่่ับตนเอง อาจต้องนำ �นักเรียนออก มาจากสถานการณ์นั้นๆ ก่อน โดยอาจใช้เทคนิค Foretime คือ ครูต้องนั่งอยู่่ับนักเรียน จับกอด และ ปลอบโยน หรือประสานงานกับครูการศึกษาพิเศษ อย่าปล่อยทิ้งไว้นาน เพราะนักเรียนจะยิ่งเพิ่ม ความกดดันให้ตนเอง แต่ทั้งนี้ครูต้องหาเหตุผลให้ พบเสียก่อน • ฉุนเฉียวแล้วสร้างความเดือดร้อนหรือทำ �ร้ายคน รอบข้าง ให้แยกนักเรียนออกมาทันที ห้ามตอบโต้ รุนแรงกลับไป สร้างความเข้าใจกับเพื่อนร่วมห้อง หรือพานักเรียนไปพบกับครูการศึกษาพิเศษ 4. เ คนิิคกาั บมือก ณีีนัักเรีีย ออทิิสติิกเกิดอา มณ์์ฉุุ เฉีีย ครูควรมีข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนออทิสติกแต่ละคนล่วงหน้าว่า นักเรียนสนใจสิ่งใดเป็นพิเศษ มีความรู้้ึกอ่อนไหวหรือ ละเอียดอ่อนในเรื่องใดบ้าง โดยส่วนใหญ่นักเรียนออทิสติกจะไม่ชอบเสียงดัง หรือปราก การณ์ที่่ีแสง สี เสียง รวมถึงการถูกบังคับ ให้เปลี่ยนแปลงแบบแผนพฤติกรรมอย่างรวดเร็ว ครูควรมีสติและหาเหตุผลของพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียน หลีกเลี่ยง การเร้าหรือการสร้างความกดดันเพิ่มขึ้น ซึ่่� งอาการฉุนเฉียวอาจแยกได้เป็นสองกรณี คือ ข้้อเส อแ ะกา จััดกา เรีียนรู้้� ที่มา https://www.sanook.com/health/16633/

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1