นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

12 นิตยสาร สสวท.ิ ต ภา 1 เมืองลา า (Lhasa) ในทิเบต ที่ระดับความสูงเหนือระดับ นำ� �ทะเล 3,650 เมตร ภา 2 Gorakshep, Sagarmatha National Park ในเนปาล (อยู่ใกล้กับ Everest Base Camp) ที่ระดับความสูงเหนือระดับนำ� �ทะเล 5,164 เมตร ทำำ �ไมยิ่่� ง สููง จึึงยิ่่� ง เหนื่่� อย รอบร้� วิทย์์ ดร.นันทยา อัครอารีย์ • นักวิชาการ สาขาเคมีและชีววิทยา สสวท. • e-mail: nauck@ipst.ac.th การได้้ไปเที่ยวในทีู่่งๆ ไม่ว่าจะเป็น เมือง ภูเขา ยอ เขา คงเป็นความใฝ่่ฝัันของหลายๆ คน แล้วถ้าสถานที่่่องเที่ยวเหล่านั� นอยูู่่งเหนือ ระดัับนำ � �ทะเลมากๆ เช่น เมืองเลห์ลาดัักในอินเดีีย เมืองลาซาในทิเบต และเทือกเขาเอเวอเรสต์ ซึ่งมี ความดัันบรรยากาศตำ� �มาก จะมีผลกระทบต่อ ร่างกายอย่างไรบ้าง อาการที่เกิดขึ้� นเป็นอย่างไร การหายใจกับความดัันอากา การหายใจเข้าและออกเกิดจากการเปลี่ยนแปลงความ ดันอากาศในช่องอก ซึ่่� งเป็นการทำ �งานร่วมกันของกล้ามเนื้อ กะบังลมและกล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่่� โครง โดยในขณะที่เรา หายใจเข้า กล้ามเนื้อกะบังลมจะเคลื่อนตำ� �ลง กล้ามเนื้อระหว่าง กระดูกซี่่� โครงแถบนอกหดตัว ทำ �ให้กระดูกซี่่� โครงยกสูงขึ้น ส่งผล ให้ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศในช่องอกลดลง ความดันอากาศรอบๆ ปอดตำ� �กว่าความดันอากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่ปอด ดังภาพ 3 เมื่ออากาศเข้าสู่ปอดจะเกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ บริเวณถุงลม ซึ่่� งการแพร่ของแก๊สออกิ เจน อาศัยความแตกต่าง ของความดันย่อยของออกิ เจนระหว่างถุงลมกับหลอดเลือดฝอย ที่่้อมรอบถุงลม โดยความดันย่อยของออกิ เจนในถุงลมมีค่าสูง กว่าในหลอดเลือดฝอย ออกิ เจนจึงแพร่จากถุงลมเข้าสู่หลอด เลือดฝอย และลำ �เลียงไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1