นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

13 ปีที่ 49 ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564ี ที่ ั บี่ ี น ภา 3 การหายใจเข้า กิจกรรมการจำ �ลองการทำ �งานของกล้ามเนื้อกะบังลม เพื่อศึกษาว่าการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศส่งผลต่อ การหายใจอย่างไร ศึกษาวิธีการได้จากวีดิทัศน์ ใน QR C ode นี้ ลองทำำ �ดูู วัสดุุและอุปกรณ์ 1. หลอดฉีดยาพลาสติกใส 50 mL 2. ลูกโป่ง 3. จุกยาง ในอากาศมีแก๊สหลายชนิดเป็นองค์ประกอบ เช่น แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกิ เจน และแก๊สคาร์บอนไดออกไ์ ความดัน ของแก๊สชนิดหนึ่งๆ ภายในปริมาตรที่่ำ �หนด เรียกว่า ความดันย่อย (Partial Pressure) คำ �นวณได้จากผลคูณของความดันรวม และสัดส่วนของแก๊สนั้น ความดันบรรยากาศในแต่ละพื้นที่บนโลกมีค่าไม่เท่ากัน พื้นที่่�ท อยูู่่งเหนือระดับนำ� �ทะเลจะมีความดันบรรยากาศลดลง เราลองเปรียบเทียบความดันย่อยของออกิ เจนในบรรยากาศที่ความสูงต่างๆ โดยให้สัดส่วนโดยปริมาตรของออกิ เจนในบรรยากาศ เป็น 21 % เท่ากัน ดังนี้ • ที่ระดัับนำ � �ทะเล ความดันบรรยากาศมีค่า 760 mmHg ดังนั้น ความดันย่อยของออกิ เจนมีค่าประมาณ 160 mmHg คำ �นวณได้จาก 760 × (21/100) • ที่ความสูงเหนือระดัับนำ� �ทะเล 3,048 เมตร ความดันบรรยากาศมีค่า 523 mmHg ดังนั้น ความดันย่อยของ ออกิ เจนมีค่าประมาณ 110 mmHg คำ �นวณได้จาก 523 × (21/100) จะเห็นได้ว่า ความดันย่อยของออกิ เจนในอากาศที่ความสูงเหนือระดับนำ� �ทะเล 3,048 เมตร จะลดลงเหลือเพียง 110 mmHg จาก 160 mmHg การเปลี่ยนแปลงนี้้่งผลต่อปริมาณออกิ เจนที่่่างกายได้รับหรือไม่

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1