นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564
14 นิตยสาร สสวท.ิ ต Grocott MPW และคณะ (2009) ได้ศึกษาค่าออกิ เจนในหลอดเลือดแดง (Artery) ของนักปีนเขาเอเวอเรสต์ ได้ผล ดังกราฟ 1 และ 2 โดยกราฟที่ 1 ซึ่่� งแสดงค่าความดันบรรยากาศ (Barometric Pressure, PB) และค่าความดันย่อยของออกิ เจน ที่หายใจเข้า (Partial Pressure of Inspired Oxygen, PiO 2 ) สังเกตได้ว่าในพื้นที่่�ท ีีระดับความสูงเหนือระดับนำ� �ทะเลมากขึ้น ความดันบรรยากาศและความดันย่อยของออกิ เจนในบรรยากาศจะยิ่งลดลง และจากกราฟที่ 2 สังเกตได้ว่าค่าความดันย่อยของ ออกิ เจนในหลอดเลือดแดงอาร์เทอรี (Partial Pressure of Arterial Oxygen, PaO 2 ) จะยิ่งลดลงเช่นกัน ในเมืองลอนดอนทีู่่งเหนือระดับนำ� �ทะเลเล็กน้อย (ความดันบรรยากาศ = 754 mmHg และ PiO 2 = 148.0 mmHg) เมื่อวัดค่า PaO 2 จากเลือด พบว่ามีค่าตำ� �กว่า 100 mmHg เล็กน้อย แต่เมื่อนักปีนเขากลุ่มนี้เดินทางไปยัง Everest Base C amp ที่ความสูงเหนือระดับนำ� �ทะเล 5,300 เมตร (ความดันบรรยากาศ = 403.5 mmHg และ PiO 2 = 74.7 mmHg) พบว่าค่า PaO 2 ที่่ัดได้ในเลือดมีค่าน้อยกว่า 50 mmHg และเมื่อนักปีนเขาเดินทางไปถึงยอดภูเขาเอเวอเรสต์ ที่ความสูงเหนือระดับนำ� �ทะเล 8,848 เมตร ความดันบรรยากาศลดลงเหลือเพียง 253 mmHg นอกจากนี้้่า PiO 2 จะมีค่าตำ� �มากเพียง 43.1 mmHg ซึ่่� งเป็น สภาวะที่ไม่เหมาะกับการดำ �รงชีวิตของสิ่งมีชีวิต และค่า PaO 2 ที่่ัดได้ในเลือดลดตำ� �ลงมาก ทำ �ไมยิ่งสูงจึงยิ่งเหนื่อย เมื่อเราเดินทางไปยังสถานที่่�ท ีีความสูงเหนือระดับนำ � �ทะเลมาก ความดันบรรยากาศลดลง ความดันของออกิ เจนลดลง แต่ปอดของเรายังคงมีปริมาตรคงที่ไม่ว่าเราจะเดินทางไปสถานที่ใดก็ตาม เราหายใจโดยได้รับปริมาตร ของอากาศเท่าเดิม ดังนั้น ร่างกายจึงได้รับออกิ เจนน้อยลง เมื่อประสิทธิภาพในการหายใจลดลง พลังงานสำ �หรับทำ �กิจกรรมต่างๆ ในร่างกายอาจไม่เพียงพอ ทำ �ให้เรารู้้ึกเหนื่อยได้ง่าย กราฟ 1 กราฟ 2 ที่มา Grocott MPW, et al. Arterial Blood Gases and oxygen content in climbers on Mount Everest. NEJM. 2009. 360: 140-149, from https://www.nejm.org/doi /full/10.1056/NEJ Moa0801581
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1