นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564
15 ปีที่ 49 ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564ี ที่ ั บี่ ี น อาการป่่วยจากการเดิินทางไปที่� สูง การปรัับให้ค้� นสภาพแว้ อมในท่� สูง องมนุษย์ เมื่อนักท่องเที่ยวที่อาศัยอยู่ในที่ราบลุ่มเดินทางไปพื้นที่อยูู่่งเหนือระดับนำ� �ทะเลมากและในเวลาที่รวดเร็ว อาจมีอาการ ป่วย ที่เรียกว่า ALTITUDE SICKNESS จากการสำ �รวจพบว่า 75% ของนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปพื้นที่่�ท ีีความสูงเหนือระดับ นำ� �ทะเลมากกว่า 2,500 เมตร จะแสดงอาการป่วยที่ไม่รุนแรง เช่น ปวดศีรษะ วิงเวียน คลื่นไส้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร และหายใจ ลำ �บาก ซึ่่� งอาการจากการขาดออกิ เจนเหล่านี้จะค่อยๆ ดีขึ้นเมื่อร่างกายมีการปรับให้คุ้นชินกับสภาพแวดล้อม ทั้งนี้หากเดินทาง ไปยังทีู่่งมากๆ ในบางกรณีอาจมีอาการป่วยทีุ่่นแรง เช่น ปอดบวมนำ� � สมองบวม เห็นภาพหลอน หมดสติ หรืออาจถึง ขั้นเสียชีวิตได้ ในการเดินทางจึงไม่ควรเดินทางขึ้นทีู่่งเร็วเกินไป ควรวางแผนพักที่เมืองที่อยู่่ำ� �กว่าก่อนเพื่อปรับตัว ในบางคน อาจใช้ถังอากาศเพื่อเพิ่มแก๊สออกิ เจน มนุษย์สามารถมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเพื่อตอบสนองกับสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปได้ เช่น ระดับ ความสูง อุณหภูมิ และความชื้น การปรับร่างกายให้คุ้นสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปนี้เรียกว่า ACCLIMATIZATION ซึ่่� งจะเกิดขึ้นในระยะเวลาสั้น แตกต่างจากการปรับตัวทางวิวัฒนาการที่เรียกว่า ADAPTATION ที่อาศัยระยะเวลายาวนานเป็น หลายชั่วรุ่นของสิ่งมีชีวิต โดยมนุษย์มีการปรับให้คุ้นสภาพแวดล้อมเพื่อให้ทนต่อภาวะออกิ เจนน้อยในทีู่่ง เช่น มีการหายใจลึกและเร็วขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มสูงขึ้น เพื่อให้สูบฉีดเลือดดีขึ้นและลำ �เลียงออกิ เจนได้มากขึ้น รวมทั้งเพิ่มปริมาณเ ลล์เม็ดเลือดแดง ที่่่วยในการขนส่งออกิ เจน ทั้งนี้การปรับให้คุ้นสภาพแวดล้อมของแต่ละบุคคลอาจแตกต่างกันขึ้นอยู่่ับสภาพร่างกาย ถ้้าการเดิินทางไปยัังส านท่� ท่� ตั้้� งอยู่� สูงเหนือระดัับนำ� �ทะเลมากๆ อาจส่งผลกับสภาพร่างกา ของ นักท่องเท่� วได้้ แล้วกล่� มคนพื� นเมืองท่� ตั้้� งรกรากอาศัั อยู่� ท่� สูงสามาร ำ �รงชีีวิ ได้้อย่่างไร? กลุ่มคนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในพื้นทีู่่งเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่่ีออกิ เจน เบาบางอยู่ตลอดเวลา แต่สามารถดำ �รงชีวิตและทำ �กิจวัตรต่างๆ ได้ปกติ ผลการวิจัย พบว่ากลุ่มคนเหล่านี้้ีการปรับตัวทางวิวัฒนาการให้มีสรีรวิทยาที่แตกต่างจาก ประชากรทั่วไปที่อยู่ในพื้นที่่ำ� � ซึ่่� งผลของการปรับตัวที่เกิดขึ้นสามารถถ่ายทอดทาง พันธุกรรมจากรุ่นสู่่�ร นได้ จากการวิจัย (Beall, 2006) พบว่ากลุ่มคนพื้นเมืองที่อาศัยในทีู่่งมีปริมาตร ปอดสูง ซึ่่� งส่งผลให้ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าในแต่ละครั้งเพิ่มขึ้นและพื้นที่่ิว ของถุงลมที่ใช้การแลกเปลี่ยนแก๊สเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังพบว่ากลุ่มคนพื้นเมือง ในทีู่่งแต่ละพื้นที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาบางอย่างที่แตกต่างกัน เช่น กลุ่มคนพื้นเมืองที่เทือกเขาแอนดีสในทวีปอเมริกาใต้มีการปรับตัวด้วยการเพิ่ม ความสามารถในการลำ �เลียงออกิ เจนไปใช้ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยพบว่า มีจำ �นวนเ ลล์เม็ดเลือดแดงและความเข้มข้นของฮีีโมโกลบินสูงกว่าปกติ ส่วน ชาวทิเบตมีการปรับตัวให้หายใจเร็วและลึกขึ้น เพื่อนำ �อากาศเข้าสู่่่างกายได้มากขึ้น อีกทั้งเส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ช่วยให้มีการลำ �เลียงออกิ เจนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ภา 4 ชาวทิเบต
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1