นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564
16 นิตยสาร สสวท.ิ ต นอกจากการศึกษาทางสรีรวิทยาแล้ว ยังมีงานวิจัย (Liang, et al. 2010) ศึกษาความแตกต่างทางพันธุกรรมของกลุ่มคน พื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในพื้นทีู่่งกับกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่่ำ� �ด้วย จากการศึกษาจีโนมของชาวทิเบตและชาวจีนฮั่่นในปักกิ่ง พบว่าสองกลุ่มนี้้ีข้อมูลทางพันธุกรรมแตกต่างกัน โดยพบมิวเทชันของยีนมากกว่า 30 มิวเทชันที่แพร่หลายในประชากรชาวทิเบต แต่พบจำ �นวนน้อยในประชากรชาวจีน ซึ่่� งยีนเหล่านี้้่วนใหญ่ทำ �หน้าที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมออกิ เจนในร่างกาย โดยเฉพาะ มิวเทชันของยีน EPAS1 ซึ่่� งเกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อภาวะพร่องออกิ เจนในร่างกาย โดยพบเกือบ 90 เปอร์เ็ นต์ในชาวทิเบต และพบเพียง 10 เปอร์เ็ นต์ในชาวจีนฮั่่น การปรับตัวทางพันธุกรรมนี้้่งผลให้ชาวทิเบตสามารถอาศัยอยู่ในพื้นทีู่่งที่่ีออกิ เจน เบาบางได้อย่างปกติ ร่างกายของเราต้องการออกิ เจนอย่างเพียงพอตลอดเวลา เพื่อใช้ในการสร้างพลังงานสำ �หรับทำ �กิจกรรมต่างๆ สถานที่ ที่่ีความสูงเหนือระดับนำ� �ทะเลมากจะมีออกิ เจนเบาบาง ทำ �ให้ผู้้�ท เดินทางไปได้รับออกิ เจนไม่เพียงพอ เกิดอาการเหนื่อยล้า วิงเวียน ปวดศีรษะได้ ซึ่่� งเมื่อร่างกายได้ปรับให้คุ้นสภาพแวดล้อมนี้ อาการเหล่านี้้็จะหายไป อย่างไรก็ดี มีกลุ่มคนอีกจำ �นวนมาก ที่อาศัยในพื้นทีู่่งมาหลายชั่วรุ่นและมีการปรับตัวทางวิวัฒนาการ สรีรวิทยา และพันธุกรรมแตกต่างออกไป และเหมาะต่อ การเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่่ีออกิ เจนเบาบาง จากตัวอย่างเรื่องข้างต้น ผู้สอนสามารถนำ �ไปประกอบการสอนเรื่องการหายใจของมนุษย์ได้ ทั้งนี้้�ผ เขียน มีความเห็นว่า ในการสอนเนื้อหาเกี่ยวกับชีววิทยานั้น ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้โดยเชื่อมโยง กับสถานการณ์ในชีวิตจริง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำ �ความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ต่อไป ควบคู่่ับการใช้คำ �ถามเพื่อกระตุ้น ให้ผู้เรียนเกิดความสงสัยและสนใจในเรื่องที่จะเรียน ในการสอนควรให้ผู้เรียนได้เห็นความเชื่อมโยงของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง เช่น ความรู้ทางด้านสรีรวิทยาและพันธุศาสตร์ ที่่ำ �คัญ ผู้เรียนควรได้ลงมือปฏิิบัติกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เข้าใจเนื้อหา ได้ดียิ่งขึ้น เช่น กิจกรรมจำ �ลองการหายใจ นอกจากนี้อาจเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาเพิ่มเติมจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อฝึกวิเคราะห์ข้อมูล และพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ ถึงครูผู้สอน บรรณานุกรม Altitude sickness. (2020). Retrieved April 2, 2021, from https://www.nhs.uk/conditions/altitude-sickness/. Beall CM. (2006). Andean, Tibetan, and Ethiopian patterns of adaptation to high-altitude hypoxia. Integrative and Comparative Biology. 46 (1): 18–24. doi:10.1093/icb/icj004. High-altitude adaptation in humans. (2020). In Wikipedia. Retrieved April 2, 2021, from https://en.wikipedia.org/wiki/High- altitude_adaptation_in_humans. Simonson, T., et al. (2010). Genetic evidence for high-altitude adaptation in Tibet. Science. 329 (5987): 72-75. Yi, X., et al. (2010). Sequencing of 50 human exomes reveals adaptation to high altitude. Science. 329 (5987): 75-78. Widmaier, Eric P. & Raff, Hershel & Strang, Kevin T. (2008). Vander's human physiology: the mechanisms of body function. Boston: McGraw-Hill Higher Education. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนัังสืือเรีย รายวิิ าเพิ� มเติิม ชีี วิิทยา เล่ม 3 ชั้� นมัั ยมศึึ ษาปีที� 5 กลุ่่ม าระ ารเรียนรู้้วิิทยา า์ และเท โ โลยี (ฉบับปรับปรุง พ. . 2560) ามหลัู รแ ลาง ารศึึ ษาขั้� นพื้� ฐาน พุุทั รา 2551. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1