นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

28 นิตยสาร สสวท.ิ ต ภา 9 กิจกรรม 8. Events หรือกิจกรรม เป็นฟีเจอร์ การนัดหมายของกลุ่ม ทั้งผู้สอนและผู้เรียนสามารถสร้างนัดหมาย สำ �หรับการจัดการเรียนการสอนหรือสำ �หรับการส่งงาน โดยเลือก ให้มีการเตือนก่อนเวลาหรือเมื่อถึงเวลานัดหมายได้ เพื่อให้มองเห็นภาพการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน LINE มากขึ้น ขอยกตัวอย่างการจัดการเรียน การสอนในเนื้อหาเกี่ยวกับการอธิบายปฏิิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศที่ได้จากการสำ �รวจ ซึ่่� งอยู่ในตัวชี้้ัดและสาระ การเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยในการจัดการเรียนการสอนปกติ ผู้สอนจะให้ผู้เรียนในแต่ละกลุ่มสำ �รวจและ อธิบายปฏิิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น เช่น บริเวณสระนำ � � สวนธรรมชาติ หลังอาคารเรียน โดยไม่ซ้ำำ� �กัน หลังจากนั้นผู้เรียนต้องสังเกตและบันทึกสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เก็บและรวบรวมข้อมูลทั้งสภาพแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต ในบริเวณที่่ำ �รวจ วิเคราะห์ข้อมูลจากการสำ �รวจเพื่ออภิปรายปฏิิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต ในบริเวณที่่ำ �รวจ จากนั้นสืบค้นข้อมูลเพิ่ม นำ �เสนอผลการทำ �กิจกรรม และตอบคำ �ถามท้ายกิจกรรม (สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2563) สำ �หรับการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน LINE กลุ่มผู้เรียนอาจมีข้อจำ �กัดในการเดินทางไปสำ �รวจพื้นที่ ผู้สอน อาจมีการปรับรูปแบบการดำ �เนินกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรม ปฏิิสัมพันธ์ขององค์ประกอบสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นเป็นอย่างไร จุ ประสงค์ สำ �รวจและอธิบายปฏิิสัมพันธ์ขององค์ประกอบสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น วัสดุุและอุปกรณ์ มือถือ แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ที่่ีแอปพลิเคชัน LINE วิธีการดำำ �เนินกิจกรรม 1. ชมวีดิทัศน์เรื่อง องค์ประกอบของระบบนิเวศ (ผู้สอนสามารถยกตัวอย่างระบบนิเวศอื่นๆ ใน YouTube ที่แตกต่างจากระบบนิเวศในท้องถิ่น เพื่อให้นักเรียนสามารถเปรียบเทียบได้ง่ายขึ้น โดยในบทความนี้ ขอยกตัวอย่างวีดิทัศน์ขององค์ประกอบของขั้วโลกเหนือที่่ีหมีขั้วโลกกำ �ลังกินแมวนำ� �) 2. สำ �รวจบริเวณรอบบ้าน สังเกตและบันทึกภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ข้อมูลรูปร่าง ขนาด ลักษณะ จำ �นวน ชื่อของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ด้วยอุปกรณ์บันทึกภาพ เช่น มือถือ แท็บเล็ต

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1