นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564
39 ปีที่ 49 ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564ี ที่ ั บี่ ี น กา ป ะชาสััมพัันธ์์ ัั์ หััวข้อสััมมนาั้ั 1. 2. สามารถใช้การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ข่าวหนังสือพิมพ์ เฟซบุ๊๊� กหรือไลน์ ซึ่่� งเป็นขั้นตอนสำ �คัญที่จะช่วยสร้างแรงจูงใจสำ �หรับการจัด สัมมนาออนไลน์ เพราะต้องสื่อสารและชี้แจงให้ครู นักเรียน และผู้สนใจได้ รับทราบจุดประสงค์ หัวข้อ กำ �หนดการของการจัดสัมมนา รวมทั้งวิธีการสมัคร เข้าร่วมสัมมนาอย่างชัดเจน ดังภาพ 1 หัวข้อสัมมนา ควรเป็นประเด็นที่่ันสมัย น่าสนใจ หรือเป็นประโยชน์ ที่่ึงดูดให้ผู้สนใจเข้ามาลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนา รวมทั้งต้องมีรายละเอียด เนื้อหาโดยย่อ ชื่อวิทยากร วิธีการดำ �เนินงาน เพื่อดึงดูดความสนใจผู้้ังให้ติดตาม รับฟังวิทยากรตั้งแต่ต้นจนจบ ดังภาพ 1 ภา 1 การประชาสัมพันธ์ เนื� อหาื � 3. การเตรียมเนื้อหาต้องกระชับ และเข้าใจง่ายภายในระยะเวลาที่่ำ �กัด ก่อนเริ่มการจัดสัมมนา ผู้้ัดงานต้องชี้แจงกับวิทยากร เกี่ยวกับขอบเขตเนื้อหาการบรรยายที่เหมาะสมกับครู ระดับความรู้ของนักเรียน รวมทั้งเวลาในการบรรยาย เพื่อให้วิทยากร สามารถจัดเตรียมเนื้อหาที่จะบรรยายได้เหมาะสม จัดหาสื่อ เกม หรือกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อกระตุ้นผู้เข้าร่วมสัมมนา และช่วยให้ เข้าใจได้ง่าย ดังภาพ 2 นอกจากนี้้�ผ ูัดงานควรสอบถามสิ่งที่่ิทยากรต้องการให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาจัดเตรียมมาก่อนเข้าสัมมนา เช่น การ Download Application หรือการสมัครสมาชิกในเว็บไ์ ต่างๆ ภา 2 การโชว์วีดิทัศน์เกี่ยวกับการสร้างเขื่อนไ ยะบุรีใจกลางแม่นำ� �โขงที่เป็นนวัตกรรมด้านระบบนิเวศ ความเร็็วอินเทอร์์เน็ต็ิ์็ 4. อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนสำ �คัญอย่างมากในการจัดสัมมนาในรูปแบบออนไลน์ การใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงจะช่วยให้ การบรรยายของวิทยากรต่อเนื่องและน่าสนใจติดตาม เช่น การสาธิตการใช้อุปกรณ์ตรวจวัด การนำ �เสนอข้อมูลการตรวจวัดแบบ Real Time ดังภาพ 3 ภา 3 อุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิพื้นผิว และการใช้แอปพลิเคชัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1