นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

48 นิตยสาร สสวท.ิ ต แบบจำ �ลองวิทยาศาสตร์คืออะไร อนุพงศ์ ไพรศรี • นิสิตปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • e-mai l: anupong.pr@ku.th รองศาสตราจารย์ชาตรี ฝ่ายคำ �ตา • สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • e-mai l: chatreechem@yahoo.com การเรียนกระตุ้้� น ความคิด คุณค่า องแบบจำำ องที� มากกว่่าใชุ้้่ ำี �่้ ในการบรรยายค ามรู� วิิทยา าสตร์์ู �ิ์ แบบจำ �ลองมีความสำ �คัญในการสอนวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะเนื้อหาเข้าใจยาก ับ้ อนและเป็นนามธรรม นอกจากนี้ ยังเป็นเครื่องมือที่่่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้้�ท จะสร้างและพัฒนาความรู้้ิทยาศาสตร์ เข้าใจกระบวนการทำ �งานและคิดอย่าง นักวิทยาศาสตร์ ดังนั้น ผู้สอนควรตระหนักถึงคุณค่าหรือประโยชน์ของการใช้แบบจำ �ลองในชั้นเรียน เพื่อเป็นการทบทวนความเข้าใจ เกี่ยวกับแบบจำ �ลองวิทยาศาสตร์ ผู้เขียนขอเชิญชวนทุกคนตอบคำ �ถาม 3 ข้อ ดังนี้ 1. แบบจำ �ลองวิทยาศาสตร์คืออะไร 2. ใช้แบบ จำ �ลองวิทยาศาสตร์ในวัตถุประสงค์อะไรบ้าง 3. แบบจำ �ลองวิทยาศาสตร์มีประโยชน์หรือให้คุณค่าอะไรบ้าง (คำ �ตอบของแต่ละคำ �ถาม อาจจะมีมากกว่า 1 คำ �ตอบ) ผู้เขียนจะพาผู้้่านไปค้นหาคำ �ตอบผ่านผลการวิจัยของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ศึกษา เช่น Crawford and Flanagan (2019) และ Soulios and Psillos (2016) รวมทั้งจากมุมมองของผู้เขียน และในช่วงท้ายผู้เขียนได้เสนอแนะลักษณะสำ �คัญ ของการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐาน ซึ่่� งเป็นวิธีการสอนที่ยกระดับคุณค่าของแบบจำ �ลอง กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ศึกษา ได้ทำ �การสำ �รวจมุมมองหรือความเข้าใจของครูวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการให้ความหมายของ แบบจำ �ลอง ซึ่่� งแบ่งออกเป็น 3 มุมมอง และตัวอย่างคำ �ตอบของครู ดังนี้ คำ �ถามท่� 1 มุมมองที่ 1 แบบจำ �ลองคือ การเลียนแบบปราก การณ์ธรรมชาติทุกประการ (Replication) เช่น ครูมองว่า “แบบจำ �ลอง เป็นวัตถุที่่ักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น มีความถูกต้องและแม่นยำ �” หรือ “แบบจำ �ลองคือต้นแบบ (Prototype)” มุมมองที่ 2 แบบจำ �ลองคือ ตัวแทนความคิดของปราก การณ์ธรรมชาติ (Representation) เช่น ครูมองว่า “แบบจำ �ลอง เป็นตัวแทนของปราก การณ์ทางธรรมชาติที่่ำ �ให้เข้าใจง่าย” มุมมองที่ 3 แบบจำ �ลองคือ สิ่งที่เกิดจากการสร้างและพัฒนาขึ้นโดยมนุษย์ เพื่ออธิบายและทำ �นายปราก การณ์ เช่น ครู มองว่า “แบบจำ �ลองเป็นเครื่องมือสำ �หรับการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เช่น สร้างแบบจำ �ลองในการทดสอบสมมติฐาน เพื่อนำ �ไปสู่่้อสรุปทางวิทยาศาสตร์” ความเข้าใจของครูเกี่ยวกับแบบจำ �ลอง อาจสะท้อนวิธีสอนวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนก็ได้ เช่น หากครูเข้าใจและให้ ความหมายของแบบจำ �ลองในมุมมองที่ 3 โดยมองแบบจำ �ลองคือความรู้้�ท สร้างและพัฒนาโดยมนุษย์ (Grosslight et al., 1991) ซึ่่� งมักเกิดขึ้นในกระบวนการทำ �งานของนักวิทยาศาสตร์ เพราะนักวิทยาศาสตร์สร้างแบบจำ �ลองขึ้นมาเพื่ออธิบายและทำ �นาย ปราก การณ์ และแบบจำ �ลองก็เป็นความรู้้ิทยาศาสตร์อย่างหนึ่ง ครูอาจจะกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างและพัฒนาแบบจำ �ลอง ในการสืบเสาะหาความรู้้ิทยาศาสตร์ในห้องเรียน โดยให้ผู้เรียนสังเกตปราก การณ์ธรรมชาติ ตั้งสมมติฐาน สร้างแบบจำ �ลอง ที่เป็นไปได้ที่จะอธิบายปราก การณ์ แล้วค้นคว้า ทดลอง สำ �รวจหรือเก็บข้อมูล เพื่อนำ �มาเป็นหลักฐานในการวิเคราะห์ และตีความในการปรับแบบจำ �ลองของตนเอง ในขณะทีุ่่มมองที่ 2 โดยมองแบบจำ �ลองคือตัวแทนของความรู้เท่านั้น การที่ ครูมีมุมมองนี้อาจนำ �แบบจำ �ลองอย่างง่ายมาใช้เป็นตัวแทนเพื่อให้เข้าใจเนื้อหาวิทยาศาสตร์นั้นๆ เช่น ครูอาจจะให้ผู้เรียน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1