นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564
49 ปีที่ 49 ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564ี ที่ ั บี่ ี น วัตถุประสงค์ของแบบจำ �ลองวิทยาศาสตร์คืออะไร กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ศึกษาได้ทำ �การสำ �รวจมุมมองหรือความเข้าใจของครูวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของแบบจำ �ลอง วิทยาศาสตร์ ซึ่่� งแบ่งออกเป็น 3 มุมมอง และตัวอย่างคำ �ตอบของครู ดังนี้ คำ �ถามท่� 2 มุมมองที่ 1 แบบจำ �ลองมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการบรรยายปราก การณ์ เช่น ครูมองว่า “เพื่อให้เห็นสิ่งที่เราไม่สามารถ มองเห็น” หรือ “เพื่อบรรยายแนวคิดวิทยาศาสตร์ในรูปแบบภาพ” มุมมองที่ 2 แบบจำ �ลองมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้อธิบายปราก การณ์ เช่น ครูมองว่า “เพื่อช่วยอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปร” มุมมองที่ 3 แบบจำ �ลองมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ทำ �นายเกี่ยวกับปราก การณ์ เช่น ครูมองว่า “เพื่อเป็นเครื่องมือสำ �หรับสร้าง สมมติฐานและความรู้้ิทยาศาสตร์” หรือ “เพื่อทำ �นายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร” สังเกตโครงสร้างของเ ลล์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ประกอบกับหนังสือเรียน จากนั้นให้ผู้เรียนปั� นดินนำ� �มันเพื่อเป็นตัวแทนของ ออร์แกเนลล์ต่างๆ ภายในเ ลล์ แล้วอธิบายว่าโครงสร้างของเ ลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์อะไรบ้าง มีโครงสร้างและหน้าที่อย่างไร และในมุมมองที่ 1 เป็นการมองแบบจำ �ลองคือสิ่งที่่ักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น มีความถูกต้องและแม่นยำ � การที่ครูผู้สอนมีมุมมองนี้ มีความเป็นไปได้ที่ครูจะใช้แบบจำ �ลองในการถ่ายทอดความรู้้ิทยาศาสตร์ให้กับผู้เรียน และถือว่าแบบจำ �ลองทีู่่กต้องมีเพียง แบบจำ �ลองเดียว เช่น ครูอาจบอกความรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับแบบจำ �ลอง DNA ของ Watson and Click เพราะคิดว่าเป็น แบบจำ �ลองเดียวทีู่่กต้องทีุ่่ดที่ใช้อธิบายลักษณะของ DNA ทั้งนี้การให้ความหมายของแบบจำ �ลองวิทยาศาสตร์ในมุมมองต่างๆ จะเป็นตัวกำ �หนดวัตถุประสงค์ของการใช้แบบจำ �ลองในห้องเรียนวิทยาศาสตร์อีกด้วย เช่นเดียวกันกับคำ �ถามที่ 1 ความเข้าใจของครูเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ของแบบจำ �ลอง อาจสะท้อนเป้าหมายของการใช้ แบบจำ �ลองในห้องเรียนวิทยาศาสตร์ เช่น หากครูเข้าใจและกำ �หนด วัตถุประสงค์ของแบบจำ �ลองในมุมมองที่ 2 และ 3 ซึ่่� งเป็นเป้าหมาย ของนักวิทยาศาสตร์ที่สร้างแบบจำ �ลองขึ้นมา เพื่ออธิบายและทำ �นาย ปราก การณ์ธรรมชาติอย่างสมเหตุสมผล (Osborne, 2014) หรือ เรียกอีกอย่างว่า นักวิทยาศาสตร์ใช้แบบจำ �ลองเป็นเครื่องมือ ในการสืบเสาะหาความรู้ ครูอาจจะให้ผู้เรียนสร้างแบบจำ �ลองขึ้นมา เพื่ออธิบายและทำ �นายปราก การณ์บนพื้นฐานของหลักฐาน จากผลการทดลอง ตัวอย่างเช่น เมื่อครูสอนเรื่องสมดุลเคมี ครูอาจ จะให้ผู้เรียนบันทึกการเปลี่ยนแปลงสีของสารละลายในปฏิิกิริยา ผันกลับได้ เปรียบเทียบกับสีของสารละลายมาตรฐาน จากนั้นให้ ภา 1 แบบจำ �ลองระดับอนุภาคเพื่ออธิบายและทำ �นายการเปลี่ยนแปลง สีของสารละลายในปฏิิกิริยาผันกลับได้ ผู้เรียนปั� นดินนำ� �มันเพื่อใช้เป็นตัวแทนของอนุภาคสารในระดับอนุภาค (ภาพ 1) ผู้เรียนจะถูกกระตุ้นให้ประเมินแบบจำ �ลองที่สร้างขึ้น กับหลักฐานเชิงประจักษ์ และอธิบายเหตุผลหรือโต้แย้งในการสร้างแบบจำ �ลองอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่ออธิบายและทำ �นาย ปราก การณ์ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม หากครูกำ �หนดวัตถุประสงค์ของแบบจำ �ลองในมุมมองที่ 1 ซึ่่� งเป็นการใช้แบบจำ �ลองเพื่อบรรยาย มีความเป็นไปได้ว่า ครูจะใช้แบบจำ �ลองวิทยาศาสตร์ในการบรรยายความรู้้ิทยาศาสตร์ให้กับผู้เรียน เช่น ครูอาจจะใช้รูปภาพแบบ จำ �ลองในการบรรยายโครงสร้างอะตอม ในการสอนวิวัฒนาการของแบบจำ �ลองอะตอม
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1