นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

51 ปีที่ 49 ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564ี ที่ ั บี่ ี น ทั้งนี้ เพื่อให้ครูได้ใช้แบบจำ �ลองในการสร้างและพัฒนาความรู้้ิทยาศาสตร์ กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ศึกษาจึงคิดวิธีการสอน ที่เลียนแบบการทำ �งานของนักวิทยาศาสตร์แล้ว และเรียกวิธีการสอนนี้้่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐาน (Harrison, & Treagust, 2000; Gobert & Buckley, 2000) การจัดการเรียนรู้้ิธีนี้จะส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างแบบจำ �ลองเพื่ออธิบายและทำ �นาย ปราก การณ์ โดยมีลักษณะสำ �คัญ (Key Features) และตัวอย่างกิจกรรมเรื่อง ความร้อนส่งผลต่อสสารอย่างไร ดังนี้ 1. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้้วยตัวเองผ่านแบบจำ �ลอง ครูจะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างแบบจำ �ลองทางความคิดเกี่ยวกับ ปราก การณ์ที่จะศึกษา ซึ่่� งแบบจำ �ลองทางความคิดเป็นแบบจำ �ลองเฉพาะของผู้เรียนแต่ละคน โดยเป็นส่วนหนึ่งของความรู้้�ท อยู่ ภายใน แบบจำ �ลองทางความคิดจะบอกความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ดังนั้น ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนวาดภาพ อธิบาย หรือแสดงบทบาทสมมติเพื่ออธิบายและทำ �นายปราก การณ์ ตัวอย่างเช่น ครูให้รูปภาพถนนโก่งตัวที่เป็นผลมาจาก ความร้อน แล้วถามผู้เรียนว่าสาเหตุเกิดจากอะไร ทำ �ไมจึงเป็นเช่นนั้น จากนั้นครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนอธิบายหรือทำ �นาย ปราก การณ์ โดยแสดงแบบจำ �ลองทางความคิดผ่านการวาดภาพการเปลี่ยนแปลงของสสารในระดับอนุภาค 2. ผู้เรียนพััฒนาแบบจำ �ลองด้้วยการประเมินอยู่บนพื้� นฐานของหลักฐานเชิงประจักษ์ การประเมินแบบจำ �ลอง ทางความคิดจะต้องประเมินจากผลการทดลอง ดังนั้น ครูจะต้องจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ทำ �การทดลอง บันทึก และสรุปผล การทดลอง ซึ่่� งผลการทดลองดังกล่าวจะเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อประเมินแบบจำ �ลองที่่ัฒนาขึ้น ตัวอย่างเช่น ครูให้ผู้เรียน ทำ �การทดลองการให้ความร้อนกับลูกเหล็ก และนำ �ลูกเหล็กนั้นไปลอดผ่านวงแหวนเหล็ก ผู้เรียนต้องบันทึกผลการลอดวงแหวนเหล็ก ทั้งก่อนและหลังให้ความร้อนลงในตาราง ดังตัวอย่างในภาพ 2 จากนั้นให้ผู้เรียนประเมินแบบจำ �ลองทางความคิดบนพื้นฐาน ของผลการทดลองที่รวบรวมได้ ภา 2 ตัวอย่างตารางบันทึกผลการทดลองและแบบจำ �ลองระดับอนุภาคก่อนและหลังให้ความร้อนลูกเหล็ก ตารางบันทึกผลการทดลอง 3. ผู้เรียนร่วมกันสร้างและพััฒนาแบบจำ �ลองเพื่่อดัั แปลงแบบจำ �ลองให้สมบูรณ์ขึ� น ดังที่กล่าวไว้ข้างต้นเกี่ยวกับ การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ สำ �หรับการแปลผลการทดลอง มีความเป็นไปได้ที่่�ผ เรียนแต่ละกลุ่มจะตีความหรือให้คำ �อธิบาย ต่างกันขึ้นอยู่่ับความรู้และประสบการณ์เดิม เพื่อให้แบบจำ �ลองสมบูรณ์ขึ้น ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มได้นำ �เสนอแบบ จำ �ลองของกลุ่มให้กับกลุ่มอื่นได้ทราบ ตัวอย่างเช่น ครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนให้เหตุผลหรือโต้แย้ง (Argument) แบบจำ �ลองของกลุ่ม การทดลอง ผลการทดลอง แบบจำ �ลอง 1. นำ �ลูกกลมเหล็กลอด ผ่านวงแหวนเหล็ก 2. นำ �ลูกกลมเหล็กที่ได้รับ ความร้อนไปลอดผ่าน วงแหวนเหล็ก 3. นำ �ลูกกลมเหล็กที่แช่นำ� � แล้วไปลอดผ่านวงแหวนเหล็ก

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1