นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

52 นิตยสาร สสวท.ิ ต บรรณานุกรม Crawford, B. A., & Flanagan, K. P. (2019). Teachers’ Views About Models and Modeling Competence Towards Developing Scientific Literacy in Young People. In Towards a Competence-Based View on Models and Modeling in Science Education. Springer. 163-179. Gobert, J. D., & Buckley, B. C. (2000). Introduction to model-based teaching and learning in science education. International Journal of Science Education, 22 (9): 891-894. Grosslight, L., Unger, C., Jay, E., & Smith, C. L. (1991). Understanding models and their use in science: Conceptions of middle and high school students and experts. Journal of Research in Science teaching, 28 (9): 799-822. Harrison, A. G., & Treagust, D. F. (2000). A typology of school science models. International Journal of Science Education, 22 (9): 1011-1026. Lazenby, K., et al. (2020). Mapping undergraduate chemistry students' epistemic ideas about models and modeling. Journal of Research in Science Teaching, 57 (5): 794-824. Osborne, J. (2014). Teaching scientific practices: Meeting the challenge of change. Journal of Science Teacher Education, 25 (2): 177-196. Soulios, I., & Psillos, D. (2016). Enhancing student teachers’ epistemological beliefs about models and conceptual understanding through a model-based inquiry process. International Journal of Science Education, 38 (7): 1212-1233. ผู้เรียนจะต้องพยายามยืนยันข้อกล่าวอ้างหรือแบบจำ �ลองที่สร้างขึ้นว่าถูกต้องแล้ว โดยสนับสนุนด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ และใช้ คำ �ถามกระตุ้นผู้เรียนว่า แบบจำ �ลองกลุ่มไหนเหมือนหรือแตกต่างจากกลุ่มอื่น และอภิปรายร่วมกันจนลงมติได้เป็นแบบจำ �ลองมติห้อง (อาจจะมีได้มากกว่า 1 แบบ) 4. ผู้เรียนนำ �แบบจำ �ลองที่พััฒนาขึ� นไปอธิบายและทำ �นายปราก การณ์ในสถานการณ์อื่นๆ เพื่อขยายขอบเขต ของแบบจำ �ลอง ครูอาจจะกระตุ้นให้ผู้เรียนนำ �แบบจำ �ลองมติกลุ่ม/ห้อง ไปอธิบายปราก การณ์ในสถานการณ์อื่นๆ ที่คล้ายกัน หรือทำ �นายปราก การณ์ในเนื้อหาที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ครูอาจนำ �สถานการณ์แรก (ถนนโก่งตัว) มาให้ผู้เรียนอธิบายอีกครั้ง โดยใช้แบบจำ �ลองมติกลุ่ม แบบจำ �ลองเป็นหัวใจสำ �คัญในการสอนวิทยาศาสตร์ การนำ �แบบจำ �ลองไปใช้ในห้องเรียน ครูควรตระหนักถึงคุณค่าหรือ ประโยชน์ของการใช้แบบจำ �ลอง ดังนี้ 1. แบบจำ �ลอง คือ สิ่งที่เกิดจากการสร้างและพัฒนาขึ้นโดยมนุษย์ ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียน สร้างและพัฒนาแบบจำ �ลองในห้องเรียนวิทยาศาสตร์ 2. แบบจำ �ลองมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายและทำ �นายปราก การณ์ธรรมชาติ อย่างสมเหตุสมผล ครูควรกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างแบบจำ �ลองเพื่ออธิบายและทำ �นายปราก การณ์บนพื้นฐานของหลักฐานเชิงประจักษ์ มากกว่าใช้แบบจำ �ลองบรรยายความรู้ให้แก่ผู้เรียน 3. การใช้แบบจำ �ลองสอดคล้องกับแนวคิดและการทำ �งานของนักวิทยาศาสตร์ ทำ �ให้ผู้เรียนได้ประโยชน์ในการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ เช่น การพัฒนาให้ผู้เรียนปฏิิบัติตนเหมือนนักวิทยาศาสตร์ การพัฒนา ความเข้าใจธรรมชาติของนักวิทยาศาสตร์ และการพัฒนาการให้เหตุผลหรือโต้แย้งอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ การจัด การเรียนรู้โดยใช้แบบจำ �ลองเป็นฐาน ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดและปฏิิบัติเหมือนนักวิทยาศาสตร์ ในช่วงท้ายของการจัด การเรียนรู้ ผู้สอนอาจจะประเมินความเข้าใจเกี่ยวกับแบบจำ �ลองของผู้เรียนโดยร่วมกันสะท้อนคิด เช่น ถามผู้เรียนว่า “ทำ �ไมต้อง สร้างแบบจำ �ลอง” หรือ “นักวิทยาศาสตร์สร้างแบบจำ �ลองได้อย่างไร” สุดท้ายผู้เขียนในฐานะนักวิจัยหวังว่าองค์ความรู้ในบทความนี้ จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียน ครู หรือหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับแบบจำ �ลองวิทยาศาสตร์ต่อไป ครูอับดุลยามีน หะยีขาเดร์ โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล ได้อนุเคราะห์ตัวอย่างกิจกรรมเรื่อง ความร้อนส่งผลต่อสสาร อย่างไร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บทสรุป กิตติกรรมประกาศ

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1