นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

58 นิตยสาร สสวท.ิ ต ที่มา Infographic: Mutation of SARS-CoV2 - current variants of concern (europa.eu ) ตารางที่ 1 โควิด 3 สายพันธุ์ ที่่ีการกลายพันธุ์และตรวจพบในช่วงเวลาและสถานที่่�ท สอดคล้องกับการกลายพันธุ์ และพบว่าไวรัสที่กลายพันธุ์ไป จะมีความสามารถในการแพร่กระจายและทำ �ให้เกิดการติดเชื้อได้ง่ายขึ้น QUIZ สวัสดีีผู้้่านทุกคน ขณะที่่่ายกำ �ลังเขียนต้นฉบับนี� เป็นช่วงเวลาการระบา ของ COVID-19 รอบที่ 3 ในประเทศไทย โ ยในครั� งนี� มีจำ �นวนผู้้ิ เชื� อรายวันมากกว่าการระบา 2 ครั� งแรกค่อนข้างมาก ทำ �ให้มีจำ �นวนผู้้่วยสะสมรอการรักษาเพิ่่ม มากขึ� น และเราได้้เรียนรู้จากข่าวว่า การระบา รอบนี� มีจุ เริ่มต้นมาจากสถานที่่�ท ีีคนไปรวมตัวกันมากๆ และอากาศถ่ายเท ไม่สะ วกเป็นหลัก การระบาดรอบนี้เป็นไวรัส COVID-19 สายพันธุ์์ังกฤษ ซึ่่� งเป็นไวรัสที่กลายพันธุ์จากสายพันธุ์แรกที่เริ่มระบาดในประเทศจีน และสามารถติดต่อได้ง่ายกว่า เราจึงเห็นสัญญาณของความกังวลเรื่องจำ �นวนเตียงรักษาผู้้่วยในกรณีที่่ีอาการรุนแรงชัดเจนมากยิ่งขึ้น มีผู้้่วยติดเชื้อที่เสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น เชื้อเข้าสู่ปอดได้ไวขึ้น แต่ทีมแพทย์ยังไม่สามารถสรุปได้ว่า ไวรัสสายพันธุ์์ังกฤษนี้้ำ �ให้ผู้้่วยมีอาการ รุนแรงมากขึ้นหรือไม่ เพราะมีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่่� งรวมไปถึงจำ �นวนผู้้่วยที่เพิ่มจำ �นวนมากขึ้นด้วย ถึงเวลาที่คนไทยจะต้องร่วมมือกันอีกครั้ง โดยปฏิิบัติตามมาตรการหรือคำ �แนะนำ �ของกระทรวงสาธารณสุข เช่น งดกิจกรรม รวมกลุ่ม สังสรรค์ หรือกิจกรรมที่่ีคนจำ �นวนมากในสถานที่่ิด เพื่อทำ �ให้จำ �นวนผู้้ิดเชื้อรายวันลดลงให้ได้ คุณรู้ไหมต่ายกำ �ลังกังวลว่า จะเกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า “ผีซ้ำำ� �ดำ� �พลอย” จากเชื้อ COVID-19 สายพันธุ์แอฟริกาใต้ (South African Variant) ซึ่่� งประเทศไทยเคยตรวจพบครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 จากชายไทยอายุ 41 ปื ที่เดินทางไปซื้้� อพลอยที่ประเทศแทน าเนียนานถึง 2 เดือน และได้เดินทางกลับไทย โดยไปต่อเครื่องที่ประเทศเอธิโอเปีย มาตรวจพบเชื้อสายพันธ์ุแอฟริกาใต้ที่สนามบินสุวรรณภูมิ และเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2564 ได้มี รายงานการพบคนไทยที่เดินทางกลับจากประเทศแทน าเนีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และโมั มบิก จำ �นวน 10 คน ที่่ิดเชื้อสายพันธุ์ แอฟริกาใต้อีกครั้ง โดยในกลุ่มนี้้ีทั้งคนที่แสดงอาการและไม่มีอาการป่วยปะปนกันอยู่ (อายุน้อยสุด 23 ปี อายุมากสุด 66 ปี) มี 8 คน ที่ตรวจเจอเชื้อตั้งแต่วันแรกที่กลับมา และต่อมาเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2564 ทีมนักวิจัยจากอิสราเอลได้รายงานผลการศึกษากับคน ประมาณ 400 คน กับวัคี นของบริษัท Pfizer และ BioNTech ซึ่่� งมีคนเข้าร่วมเป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ 3 กลุ่ม คือ ผู้้่วยที่ไม่ได้ รับวัคี นเลย ผู้้�ท ได้รับวัคี น 1 ครั้ง และ 2 ครั้ง เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 14 วัน หลังการทดลองพบว่า มี 1% ที่พบไวรัสโควิดสายพันธุ์แอฟริกันใต้ ซึ่่� งทางทีมผู้้ิจัยเสนอแนะว่าควรทำ �การศึกษาเพิ่มเติมกับกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่านี้ อย่างไรก็ตาม แสดงให้เห็นว่าแม้จะฉีดวัคี นแล้วก็มีโอกาส จะป่วยได้ และเมื่อเปรียบเทียบการทดลองก่อนหน้านี้ในอเมริกาที่ใช้กลุ่มตัวอย่างมากถึง 12,000 คน พบว่าวัคี นจากทั้งสองบริษัทให้ ประสิทธิภาพในการรักษามากถึง 91% ซึ่่� งถือว่าในเรื่องนี้้ังไม่มีข้อสรุปที่่ัดเจนเป๊ะๆ เพราะยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่่ังต้องรอการศึกษาวิจัย เพิ่มเติมอีกมากมาย เช่น ความแตกต่างทางเรื่องพันธุกรรมของประชาชนในแต่ละทวีป สุขภาพ อาการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ สำ �หรับ า แล้ว การระมั ระวังั วไม่ให้ิ โรคนี� และไม่่่วยน่่าจะเป็นวิธีีท่� ดีีท่� สุุด ทำ �ไมคนไทยไม่กลัวโควิด-19 จากการสอบถามพูดคุยแบบเนียน ๆ กับบุคคลทั่ว ๆ ไปที่่่ายพบเจอในสังคม จำ �นวน 50 คน พบว่า 40 คน มีความเชื่อว่าโควิดไม่ได้เป็นโรคอันตราย รักษาหายได้ และที่่ำ �คัญรักษาฟรี! และอีก 10 คน เชื่อว่าโควิดเป็นโรคอันตราย ที่่ีความเสี่ยง แต่ละคนมีอาการแตกต่างกันไป แม้จะรักษาหายได้แต่ปอดคงไม่เหมือนเดิม ไวรัสโควิ สายพัันธุ์์ังกฤษ ไวรัสโควิ สายพัันธุ์แอฟริกาใต้ ไวรัสโควิ สายพัันธุ์บราซิล ชื่อ VOC 202012/01 สายพัันธุ์ B.1.1.7 บครั� งแรก กันยายน 2563 ประเทศที่ตรวจ บครั� งแรก อังกฤษ บครั� งแรกในยุโรป พฤศจิกายน 2563 สิ่งที่่่ากังวล การติดเชื้อของโรคเพิ่มสูงขึ้น ความรุนแรงของโรคเพิ่มสูงขึ้น ชื่อ 501 Y.V2 สายพัันธุ์ B.1.351 บครั� งแรก ตุลาคม 2563 ประเทศที่ตรวจ บครั� งแรก แอฟริกาใต้ พ บครั� งแรกในยุโรป ธันวาคม 2563 สิ่งที่่่ากังวล การติดเชื้อของโรคเพิ่มสูงขึ้น ความรุนแรงของโรคเพิ่มสูงขึ้น มีโอกาสที่จะลดประสิทธิภาพของวัคี นที่่ีอยู่ ชื่อ P.1 สายพัันธุ์ P.1 บครั� งแรก ธันวาคม 2563 ประเทศที่ตรวจ บครั� งแรก บราิ ล บครั� งแรกในยุโรป มกราคม 2564 สิ่งที่่่ากังวล การติดเชื้อของโรคเพิ่มสูงขึ้น มีโอกาสที่อาการของโรคจะรุนแรงขึ้น มีโอกาสที่จะลดประสิทธิภาพของวัคี นที่่ีอยู่

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1