นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

6 นิตยสาร สสวท.ิ ต นัักเรีีย ออทิิสติิกใ ชั้้� เรีีย : ถอดบทเรีียน จากป ะสบกา ณ์์จริิงส่� เทคนิคการจััดกา เรีียนรู้� วิิทยาศาสตร์์อย่างมีีป ะสิทธิิภาพ รอบร้� วิทย์์ เกศกมล บุญถนอม/นันทพร สุขัมศรี/ปิยพร ศักดิ� ภิรมย์/มุสตากีม อาแว/รองศาสตราจารย์ ดร.ศศิเทพ ปิติพรเทพิน • สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.นพรัตน์ ศรีเจริญ • นักวิชาการ ฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมผู้้ีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สสวท. • e-mail: nsric@ipst.ac.th ดร.ภัทรพร แจ่มใส • โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา หนึ่งในความท้าทายของครูวิทยาศาสตร์แห่งศตวรรษใหม่ คือ แนวโน้มของนักเรียนที่่ีความต้องการจำ �เป็นพิเศษใน ชั้นเรียนเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียนออทิสติก (Autistic Students) ที่่ีความบกพร่อง 3 ด้าน คือ ทักษะการสื่อสาร ทักษะ สังคม และพฤติกรรม แต่ยังสามารถเรียนรู้ได้เสมือนบุคคลปกติ คำ �ถามที่่่าสนใจ คือ ครูต้องปฏิิบัติตนหรือวางแผนการจัด การเรียนรู้อย่างไรให้เหมาะสม และเท่าเทียมสำ �หรับนักเรียนทุกคนในชั้นเรียน บทความนี้้�ม งเน้นนำ �เสนอวิธีการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์สำ �หรับนักเรียนกลุ่มออทิสติก จากการสัมภาษณ์บุคลากรและครูที่่ีประสบการณ์ ครูการศึกษาพิเศษ อาจารย์ ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนวที่่ีความเชี่ยวชาญด้านนักเรียนออทิสติก ตลอดจนการร่วมสังเกตชั้นเรียนใน โรงเรียนสาธิตแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครที่่ังกัดการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และถอดบทเรียนในรูปแบบ ของการสรุปเทคนิคร่วมกัน ที่มา https://www.unitymeditec.com/ความรู้เรื่องโรค/โรคเด็ก/ กลุ่มอาการออทิสติก/ นัักเรีีย ออทิิสติิกใ ชั้้� เรีีย เป็็ อย่างไ จากการศึกษาการพัฒนาระบบการศึกษาไทยที่่่านมา พบว่าแนวโน้มของนักเรียนที่่ีความต้องการจำ �เป็นพิเศษมีโอกาส เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาต่างๆ เพิ่มสูงขึ้น (สำ �นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) หนึ่งในนั้นคือเด็กออทิสติก (Autistic) หรือที่่�ร ูักกันในกลุ่มอาการออทิสติก (Autism Spectrum Disorders: ASD) เป็นอาการที่่ีภาวะระบบประสาททำ �งานั บ้ อน ไม่ได้มีความบกพร่องทางสติปัญญา แต่มีความบกพร่องในด้านการสื่อสาร สังคม และพฤติกรรม โดยเกณฑ์์คู่่ือการวินิจฉัยโรคทาง จิตเวชของสมาคมจิตแพทย์อเมริกา ฉบับที่ 5 (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, 5th ed. : DSM5) ได้แบ่งคุณลักษณะหลักที่เด็กออทิสติกมีความบกพร่องไว้ 2 คุณลักษณะ ได้แก่ (1) การสื่อสารทางสังคมและการมีปฏิิสัมพันธ์ทาง สังคม (2) พฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมที่่ำ �กัดซ้ำำ� �ๆ (American Psychiatric Association, 2013) นักเรียนในกลุ่มนี้้ักอยู่ กับตนเอง ตัดขาดจากการปฏิิสัมพันธ์กับบุคคลหรือสิ่งแวดล้อมรอบข้าง โดยอาการออทิสติกไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถพัฒนาทักษะความบกพร่องทั้ง 3 ด้าน (การสื่อสาร สังคม และพฤติกรรม) ให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ในห้องเรียนหรือในสังคม ได้ตามปกติ หรือที่เรียกว่า พฤติกรรมเสมือนปกติ วิธีการหนึ่งในการจัดการเรียนรู้้�ท เอื้อให้เด็กออทิสติก มีการพัฒนาทักษะทั้ง 3 ด้านอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การจัด การศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusion) เนื่องจากการจัดการเรียนรู้ แบบนี้เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กออทิสติกมีส่วนร่วมในการเรียน และการทำ �กิจกรรมร่วมกับเด็กทั่วไป ทำ �ให้เด็กออทิสติกได้ เรียนรู้พฤติกรรมที่เหมาะสมจากเด็กทั่วไป Ferraioli and Harris (2011) กล่าวว่า การเรียนรวมของเด็กออทิสติก ส่งผลเชิงบวกต่อ

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1