นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

7 ปีที่ 49 ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564ี ที่ ั บี่ ี น ที่มา https://health.kapook.com/view208062.html กา จััดกา เรีียนรู้้� วิิ ยาศาส์ กับนัักเรีีย ออทิิสติิก เด็กออทิสติก ทั้งในด้าน (1) สติปัญญาและผลสัมฤทธิ� ทางการเรียน (2) สังคมและการปรับตัว และ (3) เพื่อนและทัศนคติ การเรียนรวมเป็นการเน้นการพัฒนาทักษะทางสังคมและการอยู่่่วมกับผู้้�อ น ซึ่่� งความสามารถทางวิชาการจะเกิดขึ้นหลังการพัฒนา ทักษะเหล่านี้ โดยโรงเรียนที่เข้าไปสังเกตการจัดการเรียนรู้้�น น นักเรียนออทิสติกจะเข้ามาเรียนและทำ �กิจกรรมร่วมกับนักเรียนทั่วไป ตั้งแต่เช้าจนถึงเย็น เพื่อให้เรียนรู้้่านักเรียนทั่วไปได้ทำ �กิจกรรม ทำ �สิ่งต่างๆ อย่างไร ซึ่่� งในชั้นเรียนนี้จะมีอาจารย์และนักเรียนเป็น ผู้้�ท คอยกำ �กับดูแลนักเรียนออทิสติกกลุ่มนี้อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ การจัดห้องเรียนที่่ีเด็กออทิสติก ทางโรงเรียนจะเลือกนักเรียน ทั่วไปที่เป็นเด็กดี เข้าอกเข้าใจผู้้�อ น และสามารถควบคุมอารมณ์เมื่ออยู่่ับเด็กออทิสติกได้ ให้อยู่่่วมชั้นด้วยกัน เมื่อพิจารณาอาการของเด็กออทิสติก จะมีระดับความรุนแรงแตกต่างกัน ดังนี้ 1. กลุ่มที่แสดงอาการน้อย คือ เด็กออทิสติกที่่ีศักยภาพสูง (Mild Autism) มีสติปัญญาสูงหรือเท่าเด็กปกติ แต่ยัง บกพร่องด้านพฤติกรรมบางอย่าง รวมทั้งการเข้าสังคม 2. กลุ่มอาการปานกลาง (Moderate Autism) มีปัญหาเรื่องพฤติกรรม การเรียนรู้ การใช้ภาษาสื่อสาร และการเข้า สังคมพอสมควร 3. กลุ่มอาการรุนแรง (Severe Autism) มีปัญหาเรื่องพัฒนาการเกือบทุกด้าน ก้าวร้าว อาละวาด บางรายอาจมีภาวะ ปัญญาอ่อนร่วมด้วย (สุทธาสินี จิตรกรรมไทย, 2547) โดยทั่วไป เด็กออทิสติกที่สามารถเข้าเรียนรวมกับเด็กทั่วไปได้ คือ กลุ่ม Mild Autism และ Moderate Autism วิชาวิทยาศาสตร์ เป็นหนึ่งในรายวิชาที่สามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียนออทิสติกได้อย่าง ยืดหยุ่น เนื่องจากธรรมชาติของวิทยาศาสตร์นั้น นักเรียนจะต้องสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจ ลักษณะและข้อจำ �กัดของวิทยาศาสตร์ เข้าใจผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสังคม ซึ่่� งการเข้าใจในธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์จะช่วยพัฒนาคุณลักษณะด้านหนึ่งของการเป็นผู้้�ร ูิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ได้อีกด้วย (National Research Counci l (NRC), 1996) ในบางโรงเรียนที่่ักเรียนมีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์โดดเด่น โดยเฉพาะกลุ่มโรงเรียนสาธิต (ผกาพันธ์ อินต๊ะ แก้ว, 2553) มักมีกิจกรรมการเรียนรู้้�ท เน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกิจกรรมในห้องเรียนวิทยาศาสตร์อย่างสมำ� �เสมอ อย่างไรก็ตาม รูปแบบการจัดการศึกษาที่สอดคล้องหรือเอื้อกับกลุ่มนักเรียนออทิสติก ยังขาดความชัดเจนของแนวปฏิิบัติหรือ กิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ และยัง ไม่มีการเผยแพร่มากนัก จึงเป็นที่่่าสนใจที่จะศึกษาว่า ครูวิทยาศาสตร์และครูการศึกษาพิเศษ จะมีกิจกรรมการ เรียนรู้้ำ �หรับนักเรียนออทิสติกในรายวิชาวิทยาศาสตร์ อย่างไร และอาจารย์ในสาขาจิตวิทยาการศึกษาและ การแนะแนวที่่ีประสบการณ์วิจัยด้านการจัดการศึกษา สำ �หรับนักเรียนออทิสติก จะมีมุมมองหรือแนวทาง สำ �หรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ อย่างไรบ้าง

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1