นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564

9 ปีที่ 49 ฉบับที่ 229 มีนาคม - เมษายน 2564ี ที่ ั บี่ ี น 2. เ คนิิคกา จััดกิ ก มภาค ฏิิบัติิกา และกิ ก มเสริิมทัักษะ “แบ่งกลุ่่� มอย่่างเท่่าเทีี ม มีแบบแผน ฏิิบัติิอย่่างั เ น แ ะี เลี่� งของมีคม” ทดเลขไว้ในช่องสี่เหลี่ยม ส่วนการสอนเนื้อหาที่่ีศัพท์เฉพาะทางวิทยาศาสตร์ ครูควรพยายามทำ �ให้เนื้อหาที่่�ซับ้ อนเปลี่ยนมาเป็น ภาพ อาทิ การจัดการเรียนรู้เรื่องกระบวนการตรึงไนโตรเจน ครูควรสรุปเนื้อหาเป็นแผนภาพวัฏจัักร แล้วเน้นการใช้รูปภาพมา ประกอบคำ �อธิบายมากขึ้น พร้อมทั้งแสดงคำ �ศัพท์ที่่ำ �คัญทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับการเลือกใช้ประโยคที่่ำ �ให้นักเรียนออทิสติก เข้าใจมากขึ้น เช่น “เรามีกล่องใบหนึ่งซึ่่� งมีของขวัญอยู่ เราต้องแกะกล่องหรือให้เพื่อนช่วยแกะกล่องออกก่อน จึงจะได้ใช้ของที่อยู่ใน กล่องของขวัญ ก็คล้ายกับวัฏจัักรไนโตรเจน ซึ่่� งมีแก๊สไนโตรเจนอยู่มากในอากาศ แต่เราหยิบมาใช้ไม่ได้ ต้องให้แบคทีเรียช่วยก่อน” การจัดการเรียนรู้้้วยเทคนิคนี้ จะทำ �ให้นักเรียนออทิสติกและนักเรียนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายขึ้น การสอนวิทยาศาสตร์ ครูอาจจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงคำ �ศัพท์เฉพาะทางวิทยาศาสตร์ได้ทั้งหมด ครูจึงควรพิจารณาเลือก คำ �ศัพท์เฉพาะส่วนที่่ำ �เป็นสำ �หรับนักเรียนออทิสติก แต่ยังคงจำ �นวนคำ �ศัพท์ที่เหมาะสมเพื่อไม่เป็นการเสียโอกาสทางการเรียนรู้ สำ �หรับนักเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรเสริมในการจัดการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ที่่ำ �คัญอีกประการหนึ่ง คือ ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผลและ การประยุกต์ใช้ความรู้ เพราะนักเรียนออทิสติกมีความสามารถในด้านความจำ � แต่ไม่สามารถให้คำ �อธิบายทางวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่่� งครูอาจต้องใช้เวลาในการฝึกฝน โดยการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ตอบคำ �ถามบ่อยๆ ใช้คำ �ถามว่าอย่างไรมากกว่าถามว่าอะไร หรือทำ �ไม แต่ทั้งนี้้้องระมัดระวังอย่าคาดคั้นคำ �ตอบจากนักเรียนมากจนเกินไป เพราะนักเรียนอาจเกิดความเครียดสะสมและ มีพฤติกรรมแง่ลบต่อครูได้ การจัดกิจกรรมภาคปฏิิบัติการของวิชาวิทยาศาสตร์ สิ่งแรกที่ครูควรคำ �นึง คือ กิจกรรมที่่ัดขึ้นควรเอื้อประโยชน์ให้ ทั้งนักเรียนออทิสติกและนักเรียนทั่วไปสามารถเรียนรู้้่วมกันได้ ในขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ครูจำ �เป็นต้องมีการวางแผนตั้งแต่ การแบ่งกลุ่ม การแบ่งภาระหน้าที่ภายในกลุ่ม ตลอดจนการส่งเสริมหรือสร้างแรงกระตุ้นให้เกิดทักษะสังคมสำ �หรับนักเรียน ออทิสติก เพราะนักเรียนกลุ่มนี้จะมีปัญหาในการสื่อสารและการทำ �งานเป็นทีมร่วมกับผู้้�อ น ประเด็นสำ �คัญที่ครูวิทยาศาสตร์จะต้อง นำ �ไปพิจารณาเพื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสม มีดังนี้ • ประเมินความสามารถนักเรียน ในการแบ่งกลุ่ม ควรกระจายโอกาสให้นักเรียนออทิสติกแยกไป ทำ �งานกับกลุ่มนักเรียนทั่วไป เพราะถ้าครูเปิด โอกาสให้นักเรียนเลือกแบ่งกลุ่มเอง นักเรียน ออทิสติกจะรวมกลุ่มกันเองหรือเดินไปหากลุ่ม เพื่อน ครูอาจใช้การสุ่ม นับเลข หรือจับฉลาก ในการแบ่งกลุ่ม ครูต้องคอยแนะนำ �ให้เห็นว่า เราควรทำ �งานกับเพื่อนที่หลากหลาย หรือสามารถ ทำ �งานกับทุกคนได้หรือไม่ เพื่อให้นักเรียนรู้้ึก ว่าได้ช่วยเหลือกัน เรียนรู้การปรับตัวร่วมกัน ที่มา https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/521612/ • ดูแลและสร้างการรับรู้ให้นักเรียนที่อยู่ภายในกลุ่ม โดยครูจะต้องประเมินนักเรียนภายในกลุ่ม ซึ่่� งคุณสมบัติของ นักเรียนที่่ีที่สามารถทำ �งานร่วมกับนักเรียนออทิสติกได้ ควรมีความใจเย็น รอบคอบ จิตใจดี และพูดจาไพเราะ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันปัญหาขัดแย้งภายในกลุ่ม

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1