นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

10 นิตยสาร สสวท.ิ ต ภาพเกิดข้� นได้อย่างไร? กิจกรรมนี้้� ใช้้เสริิมกัับเร่� องใดได้บ้าง ? บ สรุป เมื่อเราแยกแผ่นใสออกจากกระดาษขมิ้นหลังจากตากแดดแล้ว จะสังเกตได้ว่ากระดาษ ยังคงเป็นสีเหลือง แต่จะมีบางส่วนมีสีเข้มและอ่อนแตกต่างกัน หรือพอจะเห็นเป็นภาพรางๆ ได้ เนื่องจากสารเคอร์คูมินบนกระดาษขมิ้นที่อยู่ใต้แผ่นใสที่่ีภาพได้รับแสงแดดแตกต่างกัน โดยส่วนที่ โปร่งแสงจะถูกแสงแดดทำ �ลายโครงสร้างให้เปลี่ยนเป็นสารไม่มีสี แต่ส่วนที่อยู่ใต้บริเวณทึบแสง (ส่วนที่เป็นภาพ) ซึ่่งไม่ถูกแดดจะยังคงสภาพสีเดิมไว้ เมื่อทำ �ให้เคอร์คูมินอยู่ในสภาวะเบสด้วย สารละลายโ เดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (เบกกิ้งโ ดา) บริเวณที่่ีสารเคอร์คูมินอยู่จะเปลี่ยนเป็น สีแดงขึ้น ทำ �ให้ภาพชัดขึ้นมา โดยสรุปแล้ว ภาพแบบ Anthotype ที่อาศัยแสงแดดและสารสีไวแสง ที่สกัดจากธรรมชาติ เป็นวิธีการทำ �ให้เกิดภาพอย่างง่ายโดยไม่ต้องอาศัยกล้อง หรือเลนส์สำ �หรับถ่ายภาพใดๆ สามารถใช้เป็นกิจกรรมในห้องเรียน หรือกิจกรรม ภายในครอบครัวได้ ในเรื่องของวัสดุที่่ำ �มาใช้นั้น นอกจากสารสีเหลืองจาก ขมิ้นผงแล้ว อาจใช้สารสีอื่นๆ จากธรรมชาติรอบๆ ตัวมาลองทำ �ได้ เช่น สีจาก ดอกไม้ สีจากเปลือกไม้หรือแก่นไม้ ทั้งนี้้่อนที่จะนำ �มาใช้อาจต้องหาข้อมูล เบื้องต้นในกรณีที่เคยมีรายงานเกี่ยวกับสีนั้นมาแล้ว หรือทำ �การทดสอบเบื้องต้น ว่าสีที่่้องการใช้มีสมบัติเหมาะสมหรือไม่ เนื่องจากสีจากพืชแต่ละชนิดจะมีสมบัติ แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นสมบัติการละลาย ซึ่่งสามารถละลายได้ในนำ � �หรือต้องใช้ ตัวทำ �ละลายอื่น เช่น แอลกอฮอล์ในการสกัดสีออกมา อีกทั้งความไวแสงที่ แตกต่างกันก็จะมีผลต่อระยะเวลาในการรับแสงที่จะทำ �ให้เกิดภาพได้ นอกจากนั้น ความไวต่อสภาวะกรดหรือเบสที่แตกต่างกัน จะทำ �ให้ความสามารถสร้างสรรค์ โทนสีของภาพแตกต่างออกไปได้ด้วย อีกปัจจัยหนึ่งที่ไม่อาจมองข้ามได้คือ วัสดุที่่ำ �มารับภาพ ในบทความนี้ระบุให้ใช้กระดาษวาดเขียน แต่ยังมีกระดาษ ชนิดอื่นและผ้าอีกหลายชนิดให้เลือกนำ �มาลองสร้างสรรค์ผลงานได้ ภา 5 การเรียนรู้เกี่ยวกับ pH ที่มา https://www.thoughtco.com/definition -of-ph-in-chemistry-604605 ภา 6 สมบัติการละลาย ที่มา https://www.ddw-online.com/how- sharing-compound-solubility-data- can-advance-drug-discovery-1196 -202004/ บรรณานุกรม Bingjing Zheng & McClements, David Julian. (2020). Formulation of More Efficacious Curcumin Delivery Systems Using Colloid Science: Enhanced Solubility, Stability, and Bioavailability. Molecules. 25 (12): 2791. The Chemistry of Turmeric – Fluorescence, Indicator, and Health Effects. Retrieved April 19, 2021, from https://www.compoundchem. com/2016/11/30/turmeric/. Curcumin–polymer conjugates with dynamic boronic acid ester linkages for selective killing of cancer cells Polym. Retrieved May 5, 2564, from https://doi.org/10.1039/C9PY01596E. Goela, Ajay & Kunnumakkara, Ajaikumar B. & Aggarwal, Bharat B. (2008). Curcumin as "Curecumin": from kitchen to clinic. Biochem. Pharmacol. Retrieved April 20, 2021, from https://doi.org/10.1016/j.bcp.2007.08.016. Ruihao Pan & et al. (2020) Curcumin–polymer conjugates with dynamic boronic acid ester linkages for selective killing of cancer cells Polym. Chem . 11: 1321-1326. Wells K. (2015). Cyanotype and Anthotype: Eco-patterning with mineral and natural dyes. Proceedings: International Textile & Costume Congress. Between Worlds: Innovation and Design in Textiles and Costume. Marmara University, Istanbul. สารสกัดขมิ้นชัน. สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2564, จาก https://www.gpoplanet.com/th/blog/11706/blog-11706.

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1