นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564
3 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน หลัักสููตรการเรียนรู� แ ะการสร้้างแรงบัันดา ใจัูีู �้ั ทางเทคโนโลยีีชีีวภาพการเกษตรด้านพันธุุศา ตร์โมเลกุุลพืืีี้ัุ์ุื สำำ �หรั เยาว นไทย ระดับชั้้� นมั ยมศึกษาตอนป าย ำัั้ �ัึ กรรณาภรณ์ สุจริตกุล • นักวิชาการอาวุโส สำ �นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) • e-mail: kannaporn.suc@nstda.or.th รอบร้� วิทย์์ สำ �นักงานพััฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มีการส่งเสริม สร้างความตระหนัก และสนับสนุนการพััฒนากำ �ลังคนด้้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้้วยกลไกต่างๆ ตั� งแต่ระดัับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุ มศึกษาและบัณฑิิตศึกษา และการทำ �วิจัยหลังปริญญาเอก สำ �หรับการพััฒนากำ �ลังคน ในระดัับเยาวชนนั� น สวทช. มีการสนับสนุนการเรียนรู้และสร้างความตระหนักของเยาวชนในเชิงกว้าง และเฉ าะทาง ร่วมกับคณะนักวิจัยของ สวทช. ครูอาจารย์จากสถาบันวิจัยและสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ อีกทั� งยังได้้รับการสนับสนุนจากพัันธมิตรของ สวทช. ทั� งภาครัฐและเอกชนอีกด้้วย ภา 1 การจัดกิจกรรมการฝึกอบรมเฉพาะทางด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืชสำ �หรับเยาวชนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ฝ่ายบริหารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช. และคณะนักวิจัย สวทช. ได้ร่วมสร้างสรรค์หลักสูตรการเรียนรู้ทางด้าน ชีวภาพหลากหลายกิจกรรม โดยหนึ่งในหลักสูตรการเรียนรู้้�ท ใช้บ่มเพาะและสร้างแรงบันดาลใจทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ การเกษตรแก่เยาวชน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คือ หลักสูตรการเรียนรู้้้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช เพื่อสนับสนุนให้ เยาวชนได้เรียนรู้้้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืชเบื้องต้น ผ่านกระบวนการและขั้นตอนระเบียบวิธีวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ ด้วยตนเอง ในระยะเวลา 5 วัน และฝึกฝนการทำ �งานวิจัยระดับเบื้องต้นผ่านการฝึกทำ �โครงงานวิทยาศาสตร์ด้านพันธุศาสตร์ โมเลกุลพืช ในระยะเวลา 6-9 เดือน ณ ห้องปฏิิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพพืช บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร สวทช. ภายใต้ การดูแลจากคณะวิจัยของ สวทช. คณะผู้้ึกอบรมได้ดำ �เนินการจัดกิจกรรมฝึกอบรมเฉพาะทางด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช จำ �นวน 2 กิจกรรม คือ หลักสูตรมหัศจรรย์สารพันธุกรรมดีเอ็นเอขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรมหัศจรรย์สารพันธุกรรมดีเอ็นเอขั้นสูง โดยเริ่ม ดำ �เนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน และมีเยาวชนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายผ่านการฝึกอบรมทั้ง 2 กิจกรรม จำ �นวน 442 คน เยาวชนทั้งหมดนี้จะได้เรียนรู้หลักการภาคทฤษฎีและเทคนิคการปฏิิบัติการด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช ผ่านการฟังบรรยาย จากทีมคณะนักวิจัย ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ รวมทั้งได้เรียนรู้โจทย์ปัญหางานวิจัยจริง ด้านเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร ตลอดจนวิธีการและนวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ไขโจทย์วิจัย จากตัวอย่างงานวิจัยระดับ นานาชาติในระบบการปรับปรุงพันธุ์แบบดั้งเดิม (Conventional B reeding) โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล (Marker Assisted Selection Marker) และการปรับปรุงพันธุ์์ืชแบบพันธุวิศวกรรม จากนั้นนักเรียนยังได้รับการฝึกเทคนิคปฏิิบัติการ ขั้นพื้นฐานและขั้นสูงของพันธุศาสตร์โมเลกุล โดยมีพี่เลี้ยงให้การอบรมและดูแลอย่างใกล้ชิด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1