นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

37 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน การจััดการเรียนการ อนในช่่วงวิกฤติิ การเรียนการสอนปกติ การสอนในชั้นเรียนตามปกติ การเรียนรู้้่านการทำ �กิจกรรม ในชั้นเรียน การสืบค้นหาคำ �ตอบที่่ำ �โดยครู กลวิธีการสอนที่เหมาะสมของแต่ละวิชา การเรียนรู้้�ท ี้าน Home-Based L earning (HBL) การสอนด้วยวีดิทัศน์ การสอนผ่านสื่อออนไลน์ การเรียนรู้จากสิ่งของที่หาได้ในบ้าน ชีวิตจริง, การเรียนผ่านแอปพลิเคชัน การเรียนรู้ สืบค้น ทำ �แบบฝึกหัด ไปตามลำ �ดับของโปรแกรมที่ใช้ การปฏิิบัติการเสมือนจริงและประสบการณ์จริง ในชีวิตประจำ �วันของนักเรียน เมื่อศึกษาจุดเน้นในการจัดการศึกษา จะพบว่าสิงคโปร์ให้ความสำ �คัญกับการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ตั้งแต่ก่อนที่จะเกิดการระบาดของโควิด 19 แล้ว เช่น การใช้ ICT ในการค้นคว้าหรือเพิ่มพูนประสบการณ์ระหว่างเรียน การเรียนผ่าน แอปพลิเคชัน การทำ �แบบฝึกหัดหรือโจทย์หลังจากเรียนในชั้นเรียน ตลอดจนการทบทวนบทเรียนในภายหลังทั้งที่โรงเรียนและที่่้าน อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่ประชาชนชาวสิงคโปร์ติดเชื้อโควิด 19 เป็นจำ �นวนมาก สิงคโปร์ได้เปลี่ยนรูปแบบการจัดการศึกษาจากแบบปกติ เป็นการจัดการเรียนรู้้�ท ี้านอย่างเต็มรูปแบบ (Home-Based Learning - HBL) ให้กับผู้เรียนทุกระดับชั้นตั้งแต่ประถมศึกษาจนถึง อุดมศึกษา ระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม พ.ศ. 2563 โดยปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนแบบพบหน้ากันเป็นเรียนผ่าน แอปพลิเคชันต่างๆ ใช้การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) โดยให้นักเรียนศึกษาหัวข้อต่างๆ จากวีดิทัศน์ ที่ครูบันทึกไว้ ซึ่่งครูอาจเลือกบันทึกวีดิทัศน์ผ่านโปรแกรมต่างๆ เช่น YouTube, Loom, Tik Tok หรือ PowerPoint เพื่อให้นักเรียน ได้ศึกษาเนื้อหาตามหลักสูตร มีการมอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละคนทำ �ตามโจทย์หรือคำ �สั่งตามลำ �ดับที่ครูวางแผนไว้ หรือตาม ลำ �ดับขั้นตอนที่่ำ �หนดไว้ในแต่ละแอปพลิเคชัน โดยใช้สื่ออุปกรณ์ที่พอจะหาได้ภายในบ้านแทน มีการใช้โปรแกรมการเรียนออนไลน์ ที่่่งเสริมความร่วมมือและมีปฏิิสัมพันธ์กันผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ ด้วยการใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น Google Classroom, Nearpod การใช้แอปพลิเคชันต่างๆ หรือการใช้สื่ออุปกรณ์ภายในบ้านล้วนอยู่ภายใต้หลักการเดียวกันคือ จะทำ �อย่างไรให้การเรียนการสอน ที่่ำ �ลังเกิดขึ้นนั้นเป็นประโยชน์กับนักเรียนมากทีุ่่ด และการปรับเปลี่ยนวิธีสอนดังกล่าวสามารถสรุปเป็นตาราง ดังนี้ เมื่อวิธีการสอนเปลี่ยนจากการพบหน้ากันไปเป็นการเรียนที่่้าน บทบาทของครูจากที่เคยมีปฏิิสัมพันธ์กับนักเรียนและ ดูแลอย่างใกล้ชิดในชั้นเรียนจึงหายไป เหลือเพียงการออกแบบกิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้ การใช้คำ �ถาม และการแก้ไข สิ่งที่่ักเรียนเข้าใจผิดหรือคลาดเคลื่อนในเรื่องต่างๆ ในขณะเดียวกันบทบาทของนักเรียนก็เปลี่ยนไปด้วยเช่นเดียวกัน คือ ต้องสื่อสาร ผ่านระบบเทคโนโลยีแทนการพบครูโดยตรง รวมถึงต้องศึกษาวิธีการเรียนรู้้้วยตัวเอง นอกจากครูและนักเรียนที่่้องปรับบทบาท เกี่ยวกับการเรียนการสอนแล้ว ผู้ปกครองก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งที่่้องมีบทบาทในการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้นในช่วงวิกฤติ คือ ต้องคอยดูแลช่วยเหลือนักเรียนแทนครูทั้งด้านสังคมและอารมณ์ ด้านเนื้อหา ตลอดจนการใช้เทคโนโลยี ดังแสดงในตาราง 1 หลักสูตรที่่่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology - ICT) ที่สร้าง บรรยากาศการเรียนรู้ และส่งเสริมสมรรถนะสำ �คัญเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ และเรื่องสุดท้ายคือ การพัฒนาวิชาชีพครู ทั้งก่อนประจำ �การและประจำ �การแล้ว ให้มีความเป็นมืออาชีพทั้งในส่วนของการดำ �รงชีวิตและการประกอบอาชีพการงาน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1