นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

4 นิตยสาร สสวท.ิ ต สำ �หรับส่วนการเรียนรู้ “หลักสูตรมหัศจรรย์สารพันธุกรรมดีเอ็นเอขั้นพื้นฐาน” นั้น จะได้รับความรู้และระเบียบวิธีวิจัย ด้านการใช้เทคนิคเครื่องหมายโมเลกุลดีเอ็นเอ (DNA Marker) ในการปรับปรุงพันธุ์์ืช ซึ่่งได้เรียนรู้้� ต งแต่กระบวนการสกัดดีเอ็นเอ ให้มีความบริสุทธิ� สูงสำ �หรับนำ �ไปเพิ่มปริมาณชิ้นส่วนดีเอ็นเอของพืชในบริเวณที่่้องการ ด้วยปฏิิกิริยาลูกโซ่่พอลิเมอเรส (Polymerase Chain Reaction: PCR) การจัดจำ �แนกและคัดเลือกสายพันธุ์์ืชหรือลูกผสมด้วยเครื่องหมายโมเลกุลดีเอ็นเอ ได้แก่ เทคนิค Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD) เทคนิคการเพิ่มปริมาณชิ้นส่วนดีเอ็นเอบริเวณยีนที่่ำ �เพาะ และเทคนิคการทำ �ให้ชิ้นส่วน ดีเอ็นเอต่างๆ ได้แก่ ผลผลิตจากปฏิิกิริยาลูกโซ่่พอลิเมอเรส (PCR Product) ผลผลิตชิ้นส่วนดีเอ็นเอจากปฏิิกิริยาการตัดด้วย เอนไซม์์ตัดจำ �เพาะ (Restriction Enzyme) และผลผลิตชิ้นส่วนดีเอ็นเอจากเทคนิคอื่นๆ ให้มีความบริสุทธิ� สูง เพื่อนำ �ผลผลิต ดีเอ็นเอที่ได้ไปใช้ในการค้นหาลำ �ดับนิวคลีโอไทด์ สำ �หรับเป็นฐานข้อมูลในการปรับปรุงพันธุ์์ืช และนำ �มาใช้ประกอบการสร้าง ดีเอ็นเอพาหะสำ �หรับงานการปรับปรุงพันธุ์์ืชด้วยเทคนิคพันธุวิศวกรรม เมื่อเยาวชนผ่านการเรียนรู้ “หลักสูตรมหัศจรรย์สารพันธุกรรมดีเอ็นเอขั้นสูง” จะได้รับความรู้และระเบียบวิธีวิจัยด้าน การใช้เทคนิคพันธุวิศวกรรมเบื้องต้น โดยเรียนรู้กระบวนการสกัดดีเอ็นเอจากพืชและพลาสมิด (Plasmid DNA) จากเ ลล์แบคทีเรีย เป้าหมาย การเพิ่มปริมาณชิ้นส่วนดีเอ็นเอบริเวณที่่้องการด้วยปฏิิกิริยาลูกโซ่่พอลิเมอเรส การเชื่อมต่อผลผลิตดีเอ็นเอจาก ปฏิิกิริยาลูกโซ่่พอลิเมอเรสกับพลาสมิดเพื่อสร้างดีเอ็นเอพาหะ (DNA Vector) การถ่ายดีเอ็นเอพาหะเข้าสู่เ ลล์แบคทีเรีย การคัดเลือก เ ลล์แบคทีเรียเป้าหมายที่ได้รับดีเอ็นเอพาหะด้วยปฏิิกิริยาลูกโซ่่พอลิเมอเรสสำ �หรับนำ �ส่ง เพื่อค้นหาลำ �ดับนิวคลีโอไทด์และนำ �ไป ใช้ในการสร้างดีเอ็นเอพาหะอื่นๆ และการวิเคราะห์ข้อมูลลำ �ดับนิวคลีโอไทด์ด้วยระบบชีวสารสนเทศ (Bioinformatics) เพื่อนำ �ไป สู่การปรับปรุงพันธุ์์ืชทั้งสองรูปแบบ จากการที่่ักเรียนได้เรียนรู้้้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืช ด้วยการปฏิิบัติจริงในกิจกรรมฝึกอบรมที่่้องปฏิิบัติการนั้น สามารถ กระตุ้นให้นักเรียนบางส่วนมีความกระตือรือร้นในการค้นหาปัญหา โจทย์วิจัยด้านพันธุศาสตร์โมเลกุลพืชที่ตนเองสนใจ โดยมีการวางแผน ดำ �เนินการค้นหาคำ �ตอบ และการแก้ไขปัญหาโจทย์วิจัยที่พบใน ประเทศไทยในรูปแบบของการฝึกทำ �โครงงานวิทยาศาสตร์ ซึ่่งนักเรียน ได้นำ �องค์ความรู้้� ท ได้จากการฝึกอบรมมาใช้ในการวางแผนการทดลอง นอกจากนี้้ักเรียนยังได้รับแรงบันดาลใจ การแนะแนวอาชีพนักวิจัย และมีทัศนคติที่่ีต่อวิชาชีพนักวิจัยและงานที่เกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์ โมเลกุลพืช

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1