นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564
42 นิตยสาร สสวท.ิ ต โมเลกุลเหมือนกัน จะมีสูตรโครงสร้างต่างกันได้หรือไม่ โดยครูนำ �เสนอโมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์ที่่ีสูตรโมเลกุล C 4 H 10 พร้อม ตั้งคำ �ถามว่า นักเรียนคิดว่าสารประกอบอินทรีย์ดังกล่าวมีโครงสร้างเป็นไปได้กี่แบบ จากคำ �ตอบทางแชตทำ �ให้ทราบว่านักเรียน เข้าใจว่ามีโครงสร้างเพียงแบบเดียวคือเป็นโซ่่ตรง ดังนั้น ครูจึงตั้งคำ �ถามเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเกิดความสงสัยว่า “จำ �เป็นหรือไม่ ว่าโครงสร้างต้องเป็นโซ่่ตรงเสมอไป สามารถเป็นแบบอื่นได้หรือไม่” และให้นักเรียนทำ �กิจกรรมต่อโครงสร้างสารประกอบอินทรีย์ ดังกล่าวผ่านแอปพลิเคชัน ซึ่่งมีข้อกำ �หนดว่านักเรียนสามารถต่อโครงสร้างเป็นรูปแบบใดก็ได้ให้ได้มากทีุ่่ด แต่โครงสร้างนั้นต้องมี ความแตกต่างกัน นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนรูปร่างของโครงสร้างได้ แต่สูตรโมเลกุลยังต้องคงเดิม จากนั้นให้ถ่ายภาพหน้าจอ โครงสร้างโมเลกุลสารประกอบแล้วส่งภาพลงในอัลบั้มใน LINE กลุ่มของชั้นเรียนที่ครูสร้างขึ้น จากขั้นตอนที่กล่าวข้างต้น สอดคล้อง กับลักษณะการจัดการเรียนรู้ตามที่กล่าวไปในข้อ 1 และ 2 ซึ่่งนักเรียนต้องใช้กระบวนการวิเคราะห์ ตีความรูปแบบโครงสร้างโมเลกุล ที่ตนเองสร้างโดยอาศัยเทคโนโลยีแอนิเมชันเสมือนจริง เพื่อสืบเสาะหาคำ �ตอบจากสถานการณ์ที่่ีความท้าทายที่ครูกำ �หนดขึ้น ซึ่่งให้แสดงสูตรโมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์เพื่อให้นักเรียนรู้้ึกขัดแย้งกับความเข้าใจของตนเองในขั้นแรก 2. นักเรียนอธิบายโครงสร้างโมเลกุลและความเป็นไปได้ของรูปแบบต่างๆ ดังภาพ 2 โดยพิจารณาในประเด็นของ จำ �นวนพันธะ สูตรโมเลกุล รวมถึงโครงสร้างต่างๆ ที่่ักเรียนแสดงนั้นเหมือนหรือแตกต่างจากคำ �ตอบในข้อ 1 อย่างไร โดยอาศัย หลักฐานจากรูปแบบโครงสร้างที่่ักเรียนแต่ละคนได้มาเพื่อโต้แย้ง ให้นักเรียนแสดงคำ �อธิบายผ่านการนำ �เสนอใน Google Meet รวมถึงพิมพ์ลงใน LINE กลุ่มของชั้นเรียน ซึ่่งจะช่วยให้นักเรียนเห็นคำ �ตอบของเพื่อนๆ อย่างทั่วถึง จะเห็นได้ว่าขั้นตอนข้างต้น มีความสอดคล้องกับลักษณะของการจัดการเรียนรู้้� ท กล่าวในข้อ 3 คือนักเรียนสามารถนำ �หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการใช้ เทคโนโลยีมาอธิบายและให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ �เสนอรูปแบบโครงสร้างของ C 4 H 10 ที่เป็นไปได้ตามข้อกำ �หนด จากการนำ �เสนอพบว่า นักเรียน บางกลุ่มมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในประเด็นการหมุนแบบจำ �ลองตรงตำ �แหน่งพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอนที่ปลายโครงสร้าง แบบโซ่่ตรง แล้วคิดว่ามีโครงสร้างต่างไปจากเดิมเนื่องจากทิศทางของอะตอมในโครงสร้างเปลี่ยนไป อย่างไรก็ตามการนำ �เสนอ ของนักเรียนกลุ่มอื่นๆ ที่ได้รูปแบบโครงสร้างไม่เหมือนกับกลุ่มดังกล่าว ทำ �ให้เกิดการโต้แย้งผ่านการให้เหตุผลกับกลุ่มที่่ี ความคลาดเคลื่อนว่า การหมุนแบบจำ �ลองตรงตำ �แหน่งพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอนไม่ทำ �ให้มีจำ �นวนไอโ เมอร์โครงสร้าง เพิ่มขึ้น เพราะไม่มีการสลายหรือสร้างพันธะใหม่ ลำ �ดับการต่อกันของอะตอมและพันธะจึงเหมือนเดิม ส่วนทิศทางของอะตอม ภา 2 ตัวอย่างการต่อโครงสร้าง C 4 H 10 ของนักเรียน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1