นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564
43 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน ในโครงสร้างที่เปลี่ยนไปนั้นก็สามารถหมุนกลับคืนมาได้เหมือนเดิม เพื่อยืนยันผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการโต้แย้งดังกล่าว ครูให้นักเรียน กลุ่มที่่ีความเข้าใจคลาดเคลื่อนทดลองหมุนแบบจำ �ลองของโครงสร้างในแอปพลิเคชันอีกครั้ง ซึ่่งพบว่าหลังจากนักเรียนทำ � การทดลองเพิ่มเติม ทำ �ให้นักเรียนกลุ่มดังกล่าวเข้าใจว่า การหมุนแบบจำ �ลองตรงตำ �แหน่งพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอน ที่่่วนปลายโครงสร้างแบบโซ่่ตรง ทำ �ให้ทิศทางของอะตอมในโครงสร้างเปลี่ยนไปเท่านั้น และสามารถหมุนกลับมาให้มีทิศทาง เดิมได้ ไม่มีการสลายหรือสร้างพันธะใหม่ที่่ำ �ให้ลำ �ดับการต่อกันของอะตอมหรือพันธะเปลี่ยนไป จึงไม่ใช่ไอโ เมอร์โครงสร้าง แต่คือโครงสร้างเดิม จะเห็นได้ว่าการอธิบายการได้มาซึ่่งหลักฐานเชิงประจักษ์ของโครงสร้างสารที่แตกต่างกันของนักเรียนแต่ละคน ช่วยส่งเสริมกระบวนการโต้แย้งให้เกิดขึ้นในชั้นเรียนได้ และการใช้เทคโนโลยีเพื่อตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้จากการโต้แย้ง จะยังช่วย ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนแนวคิดที่คลาดเคลื่อนของนักเรียนอีกด้วย 4. ครูถามคำ �ถามเพิ่มเติมว่า “ถ้าครูเพิ่มธาตุ O 1 อะตอม เข้าไปในโมเลกุล C 4 H 10 เป็น C 4 H 10 O นักเรียนคิดว่าโครงสร้าง ที่ได้จะแตกต่างจากเดิมอย่างไร และโครงสร้างที่เป็นไปได้มีทั้งหมดกี่แบบ” จากนั้นครูให้นักเรียนต่อโครงสร้างของโมเลกุล C 4 H 10 O และพิจารณาว่ามีโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดกี่แบบ ซึ่่งได้ผลลัพธ์ดังภาพ 3 5. นักเรียนร่วมกันประเมินผลกระทำ �กิจกรรม โดยสรุปผลที่ได้จากการทำ �กิจกรรมแล้วพิมพ์คำ �ตอบลงใน Google Forms และ Google Meet ตัวอย่างคำ �ตอบของนักเรียนใน Google Forms ดังภาพ 4 จากคำ �ตอบชี้ให้เห็นว่าการทำ �กิจกรรมผ่านแอปพลิเคชัน ModelAR Organic Chemistry ทำ �ให้นักเรียนเข้าใจว่าสูตรโมเลกุลที่ครูกำ �หนดให้นั้น มีโครงสร้างได้หลายแบบ ซึ่่งกระบวนการ ดังกล่าวทำ �ให้นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้และลงข้อสรุปข้อมูลได้ด้วยตนเองโดยผ่านการปฏิิบัติ ภา 4 ตัวอย่างการสรุปผลการทำ �กิจกรรมของนักเรียนใน Google Forms ภา 3 ตัวอย่างการต่อโครงสร้าง C 4 H 10 O ของนักเรียน C 4 H 10 O C 4 H 10 O C 4 H 10 O C 4 H 10 O C 4 H 10 O C 4 H 10 O C 4 H 10 O
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1