นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

44 นิตยสาร สสวท.ิ ต เมื่อนักเรียนสรุปผลแล้ว ครูนำ �เสนอข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของ C 4 H 10 และ C 4 H 10 O ที่่ีโครงสร้างต่างๆ และให้นักเรียนสรุปร่วมกันผ่านการตอบคำ �ถาม โดยพิมพ์แชตใน Google Meet หลังจากทำ �กิจกรรมพบว่า นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า สารประกอบอินทรีย์ที่่ีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสูตรโครงสร้างต่างกัน จะมีสมบัติทางกายภาพต่างกัน ซึ่่งเมื่อครูให้นักเรียนแต่ละคนนำ �ข้อสรุป จากการทำ �กิจกรรมมาเขียนนิยามเกี่ยวกับไอโ เมอร์ พบว่านักเรียน สามารถให้นิยามไอโ เมอร์ได้ โดยที่่� ผ เขียนไม่ได้บรรยายไปก่อน ดังภาพ 5 ในขั้นตอนที่ 4-5 ซึ่่งแสดงลักษณะสำ �คัญของการจัดการเรียนรู้ในข้อ 3 และ 4 จะเห็นได้ว่าผู้เขียนไม่ได้ใช้กระบวนการ หรือเทคโนโลยีที่่�ับซ้้อน เป็นเพียงการใช้เทคโนโลยีพื้นฐานที่่ักเรียนสามารถเข้าถึงได้ในการสร้างคำ �อธิบายทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรุปข้อมูล นอกจากนี้ การประเมินผลการทำ �กิจกรรมเพื่อตอบจุดประสงค์การเรียนรู้ ครูสามารถประเมินและติดตาม การเรียนรู้ของนักเรียนได้ตลอดการจัดการเรียนรู้้่านการตรวจสอบคำ �ตอบ ผ่านแชตและการตอบสนองของนักเรียนในขณะ นำ �เสนอผ่าน Google Meet การส่งงานผ่าน LINE กลุ่มของชั้นเรียน และการตอบคำ �ถามหรือแสดงแนวคิดวิทยาศาสตร์ผ่าน Google Forms ซึ่่งการประเมินมีส่วนช่วยให้ครูทราบความเข้าใจของนักเรียน รวมถึงทราบปัญหาเพื่อนำ �ไปปรับปรุงแก้ไขรูปแบบ การจัดการเรียนรู้้่อไป บทสรุป ตัวอย่างกิจกรรมข้างต้นแสดงให้ทุกท่านเห็นแล้วว่า แม้เป็นการจัดการเรียนรู้้้วยรูปแบบออนไลน์ ครูก็สามารถ จัดการเรียนรู้โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ได้ การจัดการเรียนรู้้ังกล่าวไม่ได้ยุ่งยากแตกต่างไปจาก การเรียนการสอนในสถานการณ์ปกติ อีกทั้งมีความสะดวกเนื่องจากนักเรียนทุกคนได้ลงมือทำ �กิจกรรมด้วยตนเองผ่านการใช้ แอปพลิเคชันเสมือนจริงเพื่อหาหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่่งสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการปฏิิบัติโดยใช้เทคโนโลยี มองเห็นประโยชน์ของการนำ �เทคโนโลยีมาใช้เพื่อให้นักเรียนเกิดกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ให้สอดคล้องตามเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้้ิทยาศาสตร์ที่ควรเป็นอย่างแท้จริง สุดท้ายนี้้�ผ เขียนเชื่อว่าผู้้่านคงเห็นภาพ และมุมมองของการจัดการเรียนรู้้้วยรูปแบบออนไลน์ที่เน้นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้มากขึ้น บรรณานุกรม Bybee, R. W. (2006). Scientific inquiry and science teaching. In Scientific inquiry and nature of science. Springer, Dordrecht. 1-14. Waight, N., & Abd-El-Khalick, F. (2012). Nature of technology: Implications for design, development, and enactment of technological tools in school science classrooms. International Journal of Science Education. 34 (18), 2875-2905. ชาตรี ฝ่ายคำ �ตา. (2563). ลยุทธ์์ ารจััด ารเรียนร้� เคมีี . กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). คู่� มื ารใช้หลั ตรรายวิชาเพิ� มเติมวิทยาศา ตร์ กลุ่� ม าระ ารเรียนร้� วิทยาศา ตร์ (ฉบับปรัับปรุุง พ.ศ. 2560) ตามหลั ตรแ น ลาง ารศึ าขั� นพื� นฐาน พุทธศัั ราช 2551 วิชาเคมีี ระดับชั� นมั ยมศึ าต น ลาย. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2564, จาก https://www.scimath.org/e-books/8417/flippingbook/index.html. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). หนังสืื เรียนรายวิชาเพิ� มเติมวิทยาศา ตร์และเท โนโลยี เคมีี ชั� นมั ยมศึ าปีีที� 6 เล่ม 5. กรุงเทพมหานคร: สกสค. ลาดพร้าว. ภา 5 ตัวอย่างการให้นิยามไอโ เมอร์โครงสร้างนักเรียน จาก Google Forms นิยามไอโ เมอร์ของนักเรียน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1