นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

45 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน นานาสาระ และข่่าวสาร กนกนันทน์ ไสไทย • นักวิชาการ สาขาวิจัยการศึกษาและพัฒนาการวัดและประเมินผล สสวท. • e-mail: ksait@ipst.ac.th วััคซีนต้้านโ ค COVID-19 จากปลายปี ค.ศ. 2019 เป็นต้นมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ได้้เกิ การ ระบา ของ Coronavirus Disease 2019 หรือโรค COVID-19 อย่างต่อเนื่อง การระบา ของโรคนี� เกิ จากไวรัสสายพัันธุ์์� ท ี่่อว่า Severe Acute R espiratory S yndrome Coronavirus 2 (SARS-CoV-2) ทำ �ให้ขณะนี� (เดืือน ฤษภาคม ปี .ศ. 2564) ทั่วโลกมีผู้้ิ เชื� อแล้วมากกว่า 160 ล้านคน ในจำ �นวนนี� มี อาการรุนแรงถึงขั� นเสียชีวิตมากกว่า 3 ล้านคน วัคี นจึงกลายเป็นความหวัง ของมวลมนุษยชาติที่จะหยุดยั้� งโรคติดต่่อร้ายแรงนี� ได้้ องค์การอนามัยโลก (WHO, 2020) เปิดเผยว่า มีวัคซีีนหลายชนิดที่่ำ �ลังพัฒนาอยู่ในขณะนี้ โดยปกติแล้ว การพัฒนาวัคซีีนส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 10-15 ปี แต่ด้วยความเร่งด่วนและการระบาดรุนแรงของโรคนี้ ทำ �ให้วัคซีีนที่ใช้ สำ �หรับโรค COVID-19 ถูกพัฒนาเพียงแค่ 1-2 ปี (Lurie, et al., 2020) แต่ผลของการฉีดวัคซีีนในระหว่างปี ค.ศ. 2020-2021 ทำ �ให้สามารถลดความรุนแรงของอาการป่วยและการเสียชีวิตได้ (Lee, et al., 2020) เรามาทำ �ความรู้้ักวัคซีีนและเรียนรู้กลไก การตอบสนองต่อวัคซีีนจากข้อมูลที่่ีอยู่่ึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2564 จากข้อมูลทำ �ให้ทราบว่า วัคซีีนโรค COVID-19 ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาวัคซีีนแบ่งออกเป็น 6 ประเภท แต่มีหลักการ เดียวกันคือ เป็นการนำ �ไวรัสที่ตายหรืออ่อนฤทธิ� ตัดแต่งพันธุกรรมหรือสารพันธุกรรมของไวรัส ซึ่่งเป็นสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ ร่างกายคน เพื่อกระตุ้นกลไกในร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกัน (แอนติบอดี) ที่่ำ �เพาะขึ้นมา หากร่างกายได้รับเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ ก่อให้เกิดโรค COVID-19 ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายจะมีกลไกที่จดจำ �เชื้อนี้ ทำ �ให้สามารถต่อต้านเชื้อโรคชนิดนี้ได้อย่าง ทันท่วงที การที่่้องพัฒนาวัคซีีนหลายๆ ประเภท เนื่องจากวัคซีีนแต่ละประเภทให้ประสิทธิภาพที่แตกต่างกัน วัคซีีนแต่ละประเภท ใช้แอนติเจนต่างกัน จึงมีความสามารถในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้แตกต่างกัน ป ะเภทของวััคซีนโ ค COVID-19 ค า หวัังแห่ง ลมนุุษ ชาติิ

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1