นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

47 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน บริษัทผู้ผลิต ชื่อวัคี น จำ �นวนครั� งที่่ี * เทคโนโลยีในการพััฒนาวัคี น ข้อดีี ข้อจำ �กั Astra/Oxford ChAdOx1nCoV-19 2 ครั้ง ห่างกัน 12-16 สัปดาห์ วัคซีีนไวรัสเวกเตอร์ (Adenovirus (AdV) Vectors Vaccines) เป็นวัคซีีน ที่่ีการนำ �ยีนของเชื้อตัดต่อ เข้าสู่ไวรัสชนิดอื่นที่ไม่เป็นอันตราย เพื่อใช้เป็นพาหะ เช่น Adenovirus ของลิงชิมแปนซีี (Nagy and Alhatlani, 2021) • มีความคงทน สลายตัวได้ยาก กว่าวัคซีีนที่ใช้กรดนิวคลีอิก เป็นพื้นฐาน ทำ �ให้ไม่ต้องจัด เก็บทีุ่่ณหภูมิตำ� �มาก • ผลิตได้ง่าย และผลิตได้ จำ �นวนมาก ทำ �ให้ราคาไม่แพง • เป็นวัคซีีนที่เลียนแบบการติด เชื้อตามธรรมชาติ • เนื่องจากไวรัสพาหะเป็นเชื้อมี ชีวิต แม้ว่าจะอ่อนฤทธิ� หรือไม่ แบ่งตัว แต่อาจก่อโรคได้ในผู้้�ท ีี ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง Johnson & Johnson Ad26.COV2.S JNJ78436735 1 ครั้ง Medicago Plant Derived VLP (Medicago) IM CT III: NCT04450004 Plant-Derived COVID-19 Vaccine 2 ครั้ง ห่างกัน 14-28 วัน วัคซีีนอนุภาคเหมือนไวรัส (Virus- L ike Particles Vaccine) เป็นวัคซีีนที่่ี การนำ �ไวรัสมาตัดต่อยีนที่่่อให้เกิดโรค ออก (Wu, 2020) • กระตุ้นการตอบสนองใน ระบบภูมิคุ้มกันได้ดี • พัฒนายาก เนื่องจากต้องมีการ ตัดต่อยีน รวมถึงต้องระวังขั้นสูง ในการผลิต อาจทำ �ให้เกิดการปน เป้� อนห้องปฏิิบัติการ จึงต้องมี ความปลอดภัยสูง ทำ �ให้วัคซีีนมี ราคาแพง เมื่อร่างกายได้รับแอนติเจนจากการฉีดวัคซีีน ก็เหมือนร่างกายได้รับสิ่งแปลกปลอม เ ลล์บริเวณนั้น จะเกิดภาวะการติดเชื้อ (Inflammation) เม็ดเลือดขาว จะมายังบริเวณนั้นเพื่อจับทำ �ลายสิ่งแปลกปลอมเหล่านี้ เป็นด่านแรก และมีการกระตุ้นสารเคมีต่างๆ ทำ �ให้ หลอดเลือดขยายตัวเพื่อให้เ ลล์เม็ดเลือดขาวมายัง บริเวณนั้นมากขึ้น จึงทำ �ให้เกิดอาการการปวด บวม ร้อน บริเวณที่่ีดวัคซีีน ขณะเดียวกันก็มีการส่งสัญญาณไป ยังสมอง ทำ �ให้เกิดอาการทั่วทั้งร่างกาย เช่น ครั่นเนื้อ ครั่นตัว ปวดเมื่อยตามร่างกาย อ่อนเพลีย คลื่นไส้ เวียนศีรษะ (Hervé, et. al., 2019) ซึ่่งอาการเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายตอบสนองต่อ วัคซีีน แต่ทั้งนี้อาการดังกล่าวก็ไม่เกิดกับทุกคน และ ไม่ได้หมายความว่าผู้้�ท ไม่มีอาการเหล่านี้จะไม่ตอบสนอง ต่อวัคซีีน กลไกกา อบ นองของ่ างกา เมื่� อได้้ั บวััคซีน ภา 1 แสดงอาการที่อาจพบเมื่อได้รับวัคซีีน ที่มา npj Vaccines (2019) 4:39; https://doi.org/10.1038/ s41541-019-0132-6) เมื่อฉีดวัคซีีน ื่ อี ดั คี น เกิดบาดแผลิ ด สารเคมีี เม็ดเลือดขาว็ ดื อ สารเคมีในเลือดส่งสัญญาณี ใื อ่ งั ญ เ ลล์ประสาทถูกกระตุ้น์ ปู กุ้ น เกิดอาการคล้ายิ ด้ า ไข้หวัด เวียนศีรษะ้ หั ดี ยี ร ปวดเมื่อยตามร่างกายื่ อ่ ส่งสัญญาณแบบเร็ว่ งั ญ็ ว ปวด บวม ร้อน้อ กระตุ้นุ้น

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1