นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564

48 นิตยสาร สสวท.ิ ต นอกจากวัคซีีนกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายแบบไม่จำ �เพาะแล้ว วัคซีีนจะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันแบบจำ �เพาะ ซึ่่งจะเป็นกลไลที่่�ับซ้้อน โดยวัคซีีนที่ผลิตจากเทคโนโลยีแต่ละประเภทจะมีกลไก ดังนี้ กาี วััคซีนที� เป็นเชื� อเป็นที� อ่อนแ งหรืือเชื� อ า เชื้อจากวัคซีีนที่เข้าสู่่่างกายจะไปกระตุ้นเ ลล์นำ �เสนอแอนติเจน ทำ �ให้มีการสร้างเ ลล์ทีผู้้่วย (Helper T Cell) เพื่อจดจำ � เชื้อหรือแอนติเจนนี้ แล้วกระตุ้นเ ลล์บี (B Cell) ให้มีการสร้างแอนติบอดีที่่ำ �เพาะต่อเชื้อ SARS-CoV-2 (Van Oirschot, 2001) ภา 2 แสดงกลไกการกระตุ้นของร่างกายเมื่อได้รับวัคซีีนที่เป็นเชื้อเป็นที่่่อนแรงหรือเชื้อตาย ที่มา https://www.intvetvaccnet.co.uk/blog/covid-19/vaccine-eight-types-being-tested เ ลล์นำ �เสนอแอนติเจน ไวรัสเชื้ออ่อน/เชื้อตาย แอนติบอดี เ ลล์ทีผู้้่วย เ ลล์บี วัคซีีน mRNA และวัคซีีน Adenovirus (AdV) Vectors เมื่อเข้าสู่่่างกายจะมีกลไกกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันแบบเดียวกัน แต่ตัวรับในร่างกาย (Toll- L ike Receptor) ที่่ับกับแอนติเจนแตกต่างกัน โดยวัคซีีน mRNA มีตัวรับเป็น Toll- L ike Receptor 7 (TLR7) และ MDA5 ส่วนวัคซีีน Adenovirus (AdV) Vectors มีตัวรับเป็น Toll- L ike Receptor 9 (TLR9) แล้วกระตุ้นการสร้าง S-Protein (โปรตีนมือเกาะของไวรัส) ซึ่่งเป็นแอนติเจนรูปแบบหนึ่งขึ้นมา ทำ �ให้เ ลล์นำ �เสนอแอนติเจนมีการกระตุ้นเ ลล์ที (T Cell) ให้สร้าง เ ลล์เม็ดเลือดขาวชนิด Memory T Cell และชนิด Cytotoxic T Cell ทำ �หน้าที่จดจำ �เชื้อและทำ �ลายเ ลล์ที่่ิดเชื้อโรค ตามลำ �ดับ ในขณะเดียวกันเ ลล์ทีจะกระตุ้นเ ลล์ทีผู้้่วย (Helper T Cell) ให้กระตุ้นการสร้างเ ลล์บี (B Cell) เพื่อสร้างแอนติบอดีที่่ำ �เพาะ ต่อเชื้อ SARS-CoV-2 และสร้างเ ลล์ที่่ำ �หน้าที่จดจำ � (Memory B Cell) เชื้อนั้นไว้ (Teijaro and Farber, 2021) ภา 3 แสดงกลไกการกระตุ้นของร่างกายเมื่อได้รับวัคซีีน mRNA หรือวัคซีีน Adenovirus (AdV) Vectors ที่มา https://www.intvetvaccnet.co.uk/blog/covid-19/vaccine-eight-types-being-tested กาี วััคซีนที� เป็น่ นของเชื� อ ชั้นไขมัน mRNA DNA mRNA S-Protein แอนติเจน เ ลล์น� ำเสนอแอนติเจน เ ลล์น� ำเสนอแอนติเจน วัคี น mRNA วัคี น Adenovirus (AdV) V ectors เ ลล์ที เ ลล์ที แอนติบอดี แอนติบอดี เ ลล์ทีผู้ช่วย เ ลล์ทีผู้ช่วย ไวรัสเวกเตอร์ Memory T Cell Memory T Cell Cytotoxic T Cell Cytotoxic T Cell mRNA จำ �ลองตัวเอง เ ลล์บี เ ลล์บี S-Protein แอนติเจน

RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1