นิตยสาร สสวท. ฉบับที่ 230 พฤษภาคม - มิถุนายน 2564
51 ปีที่ 49 ฉบับที่ 230 พฤษภาคมี ที่ ั บี่ - มิถุนายน 2564ิ ถุน นานาสาระ และข่่าวสาร สินีนา จันทะภา • ผู้้ำ �นาญ ฝ่ายยุทธศาสตร์ แผนและประกันคุณภาพ สสวท. • e-mail: schan@ipst.ac.th ความจำำ �เป็็นในการยกระดัับความฉลาดรู้� และสมรรถนะการเรียนร้� ให้้แก่นักเรียนไทย “เด็็กฉลา รู้้� ” และ “ครููยุุคใหม่่” สู่่� กา เี นกา อนฐาน ถนะ “ความฉลาดรู้้” มาจากโปรแกรมการประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ซึ่่งประเมินความฉลาดรู้ (Literacy) 3 ด้าน ได้แก่ ความฉลาดรู้้้านการอ่าน (Reading Literacy) ความฉลาดรู้้้านคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และความฉลาดรู้้้านวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) “ฐานสมรรถนะ” เป็นคำ �สำ �คัญที่กระทรวงศึกษาธิการกำ �หนดไว้ในแผนการดำ �เนินงานทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการปฏิิรูปประเทศด้านการศึกษา และแผนขับเคลื่อนกิจกรรมปฏิิรูปที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต่อประชาชนอย่างมีนัยสำ �คัญ (Big Rock) โดยเฉพาะการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 4 ด้าน ได้แก่ คิดนอกกรอบและ ต่อยอดเป็น คิดอย่างมีวิจารณญาณและแก้ปัญหาเองได้ สื่อสารอย่างถูกต้องเหมาะสม และทำ �งานร่วมกับผู้้�อ นได้ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ พบว่าคะแนนเฉลี่ยของ นักเรียนไทยยังตำ� �กว่าเกณฑ์์มาตรฐาน และผลการประเมิน PISA รอบปี ค.ศ. 2018 จาก 79 ประเทศทั่วโลก เมื่อเทียบกับปีก่อนๆ พบว่าคะแนนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ของประเทศไทยมีแนวโน้มคงที่ แต่คะแนนการอ่านลดลง ซึ่่งสะท้อนให้เห็นว่าความฉลาดรู้ หรือสมรรถนะในการเชื่อมโยงความรู้ แนวคิดทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์หรือปัญหา การหาคำ �ตอบ แสดงเหตุผล หรือลงข้อสรุปได้อย่างมีวิจารณญาณ สามารถสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ของนักเรียนไทยยังอยู่ในระดับตำ� �กว่า ค่าเฉลี่ย ประเทศไทยจึงจำ �เป็นต้องยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนจากเดิมที่เคยเน้นการสอน เนื้อหาวิชา เป็นการสอนเพื่อพัฒนาสมรรถนะและความฉลาดรู้ของผู้เรียน ซึ่่งจะเป็นทักษะพื้นฐานที่่ำ �เป็นของคนในศตวรรษที่ 21
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MzQ5Njg1